1.11k likes | 1.31k Views
การจัดสวัสดิการอาจารย์ ต้องงานหลวงไม่ให้ขาด และงานราษฎร์ไม่ให้เสีย. ศ.ดร. ศรีศักดิ์ จามรมาน อดีตนายกสโมสรข้าราชการ นิด้า และอดีตประธานสภาคณาจารย์ พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง. Charm@ksc.au.edu. www.charm.au.edu. เอกสารประกอบการบรรยาย จัดโดยสภามหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
E N D
การจัดสวัสดิการอาจารย์ต้องงานหลวงไม่ให้ขาดและงานราษฎร์ไม่ให้เสียการจัดสวัสดิการอาจารย์ต้องงานหลวงไม่ให้ขาดและงานราษฎร์ไม่ให้เสีย ศ.ดร. ศรีศักดิ์ จามรมาน อดีตนายกสโมสรข้าราชการ นิด้า และอดีตประธานสภาคณาจารย์ พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง Charm@ksc.au.edu www.charm.au.edu เอกสารประกอบการบรรยาย จัดโดยสภามหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2551
การจัดสวัสดิการอาจารย์ต้องงานหลวงไม่ให้ขาดและงานราษฎร์ไม่ให้เสียการจัดสวัสดิการอาจารย์ต้องงานหลวงไม่ให้ขาดและงานราษฎร์ไม่ให้เสีย บทนำ หลักการด้านสวัสดิการ การทำงานหลวงและงานราษฎร์ สวัสดิการสำหรับอาจารย์ ตัวอย่างสวัสดิการที่อัสสัมชัญ สวัสดิการเจ้าหน้าที่และนักศึกษา สรุป 2
1. บทนำ • ขอขอบพระคุณ ศ. นพ. จรัส สุวรรณเวลานายกสภามหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยที่กรุณาให้เกียรติเชิญผมมาแสดงความคิดเห็นในวันนี้ • ผมมีงานอื่นที่รับไว้ล่วงหน้ามากมายจึงไม่มีเวลาค้นหาข้อมูลมาวิเคราะห์วิจัย ฉะนั้น จึงต้องขอออกตัวไว้ล่วงหน้าว่าข้อมูลที่เสนอวันนี้เป็นความเห็นส่วนตัวเท่านั้น 3
บทนำ (ต่อ) • ข้อมูลที่เสนอในวันนี้ผมไม่มีเวลาตรวจสอบหาเอกสารประกอบ ฉะนั้น อาจจะมีที่ผิดพลาดคลาดเคลื่อนไปบ้างจึงต้องขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วย 4
บทนำ (ต่อ) • ข้อมูลที่เสนอเป็นข้อมูลจากความทรงจำที่เคยเป็นอาจารย์ในมหาวิทยาลัยต่างๆ:- อาจารย์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประมาณ พ.ศ. 2503 - 2507 (48 ปี ถึง 2551)- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ มหาวิทยาลัยแมคมาสเตอร์ (McMaster) แคนาดา และกรรมการสภาอาจารย์ (Faculty Senate)พ.ศ. 2507 - 2509 5
บทนำ (ต่อ) -รองศาสตราจารย์ มหาวิทยาลัยอัลเบอร์ต้า (Alberta) แคนาดา และกรรมการสภาคณาจารย์พ.ศ. 2509 - 2511 -รศ. และ ผู้อำนวยการบัณฑิตวิทยาลัยคอมพิวเตอร์ (Director of Graduate Studies in Computer Science) มหาวิทยาลัยมิซซูรี (U of Missuri) สหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2511 - 2516 6
บทนำ (ต่อ) -ศาสตราจารย์ มหาวิทยาลัยรัฐนิวยอร์ก (State University of New York) และที่ปรึกษารองอธิการบดีฝ่ายบริหารด้านไอที(ไม่มีรองอธิการบดีด้านไอทีขณะนั้น)พ.ศ. 2516 - 2517 -ศาสตราจารย์ หัวหน้าวิชาประมวลข้อมูล และนายกสโมสรข้าราชการ นิด้าพ.ศ. 2517 - 2520 7
บทนำ (ต่อ) -รองอธิการบดีฝ่ายวางแผน (กิติมศักดิ์)มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญพ.ศ. 2519 – ปัจจุบัน (32 ปี ถึง พ.ศ. 2551)พ.ศ. 2551 เป็นรองอธิการบดีฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยเทคโนโลยีสารสนเทศและประธานกรรมการและประธานผู้บริหารวิทยาลัยการศึกษาทางไกลอินเทอร์เน็ต มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ 8
บทนำ (ต่อ) -ศาตราจารย์ ระดับ 10 พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบังพ.ศ. 2527 - 2531 -ศาตราจารย์ ระดับ 11และประธานสภาคณาจารย์พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบังพ.ศ. 2531 - 2540 (เป็น ศ. 11 คนแรกด้านวิศวกรรมศาสตร์ทุกสาขา และเป็นอยู่ 10 ปี) 9
2. หลักการด้านสวัสดิการ • สวัสดิการ (Fringe Benefits หรือ Employee Benefits)คือ สิทธิประโยชน์นอกเหนือจากเงินเดือน • สวัสดิการมีได้หลายแบบ อาทิ- บ้านพัก- การประกันต่างๆ (ประกันสุขภาพ ประกันทันตกรรม ประกันชีวิต ฯลฯ) - การคุ้มครองการทุพลภาพจากการปฏิบัติงาน 10
หลักการด้านสวัสดิการ (ต่อ) - บำเหน็จบำนาญ - บริการเลี้ยงเด็ก - ทุนศึกษาต่อและการคืนค่าเล่าเรียน (Scholarship and Tuition Reimbursement) - การลาต่างๆ (ลาป่วย ลากิจ และลาพักร้อน) - ประกันสังคม • ส่วนแบ่งกำไร (Profit Sharing) • ในกิจการพิเศษที่มีกำไร หรือ โบนัส 11
หลักการด้านสวัสดิการ (ต่อ) • รถประจำตำแหน่ง หรือ สิทธิใช้รถฟรี • คอมพิวเตอร์ประจำตำแหน่ง • บัตรเครดิตประจำตำแหน่ง • เลขานุการบริหารประจำตำแหน่ง • เลขานุการประจำตำแหน่ง • ห้องทำงานประจำตำแหน่ง • บ้านพักประจำตำแหน่ง 12
หลักการด้านสวัสดิการ (ต่อ) • การพักฟรีที่โรงแรมของสถานศึกษา • น้ำชา กาแฟ เครื่องดื่ม และอาหารว่าง ฟรี • อาหารกลางวันฟรี • ใช้สถานที่ออกกำลังกายและกีฬาฟรี อาทิ ใช้สนามกอล์ฟฟรี เป็นต้น • เบิกอุปกรณ์สำนักงานฟรี 13
หลักการด้านสวัสดิการ (ต่อ) • ค่าย้ายบ้าน • มีผู้ช่วยเหลือด้านคดีความ (Legal Assistance)ในกรณีถูกฟ้องคดีจากการทำงาน • มีส่วนลดพิเศษจากธุรกิจ อาทิ ส่วนลดด้านอาหาร ส่วนลดสถานที่ท่องเที่ยว และ ส่วนลดภาพยนตร์ เป็นต้น • ฯลฯ 14
หลักการด้านสวัสดิการ (ต่อ) • สวัสดิการบางประเภทต้องเสียภาษีสวัสดิการบางประเภทไม่ต้องเสียภาษี • ตัวอย่าง ถ้าพิสูจน์ได้ว่าการรับประทานอาหารกลางวันฟรีเป็นเรื่องจำเป็นเพื่อให้ทำงานติดต่อได้ก็ไม่ต้องเสียภาษี แต่ถ้าพิสูจน์ไม่ได้ก็ถือว่าค่าอาหารกลางวันเป็นรายได้ต้องนำไปรวมยอดที่ต้องเสียภาษีด้วย 15
หลักการด้านสวัสดิการ (ต่อ) • วัตถุประสงค์หลักของสวัสดิการ คือ - เพิ่มความมั่นคงทางเศรษฐกิจให้ผู้รับ- เพิ่มความจงรักภักดีของผู้รับไม่ให้อยากย้าย ไปอยู่ที่อื่น 16
หลักการด้านสวัสดิการ (ต่อ) • ประโยชน์ของสวัสดิการต่อสถานศึกษา - ช่วยให้ได้อาจารย์ใหม่ และรักษาอาจารย์เก่าที่มีคุณภาพ - ลดความเสี่ยงทางการเงิน โดยบริษัทประกันช่วยจ่ายค่าเสียหาย แทนสถานศึกษา - ทำให้อาจารย์ปฏิบัติงานได้ดีขึ้น โดยไม่ต้องกังวลเรื่องสวัสดิการของตนเอง และครอบครัว 17
หลักการด้านสวัสดิการ (ต่อ) - ค่าสวัสดิการที่สถานศึกษาจ่ายให้กับอาจารย์อาจนำไปหักภาษีได้ในกรณีกิจการที่ต้องเสียภาษีอาทิ สถานศึกษาที่มีศูนย์การค้าและให้ส่วนลดเป็นสวัสดิการแก่อาจารย์ เป็นต้น 18
หลักการด้านสวัสดิการ (ต่อ) • ประโยชน์ของสวัสดิการต่ออาจารย์ - ไม่ต้องกังวลเรื่องค่าใช้จ่ายที่มีสวัสดิการ ทำให้ทำงานได้ดีขึ้น - ถ้ามึประกันชีวิตเป็นสวัสดิการ ก็ช่วยให้ครอบครัวมีเงินใช้ เมื่ออาจารย์เสียชีวิต - ช่วยให้มีขวัญและกำลังใจดีขึ้น 19
3. การทำงานหลวงและงานราษฎร์ การทำงานของอาจารย์ในสถานศึกษาอาจจะแบ่งเป็น 2 ประเภท 3.1 งานหลวง คือ งานในหน้าที่อาจารย์ 3.2 งานราษฎร์ คือ งานที่ไม่ใช่งานหลวง 20
3.1 งานหลวง • งานหลวง หรือ งานในหน้าที่ที่ต้องทำให้สถานศึกษา ตามกฎระเบียบ ข้อบังคับ หรือธรรมเนียมปฏิบัติ • งานหลวงของแต่ละสถานศึกษาก็แตกต่างกันไป ดังตัวอย่างต่อไปนี้ - ตัวอย่างที่หนึ่ง งานหลวงของมหาวิทยาลัย ในสหรัฐอเมริกาหลายแห่ง คือ ให้ทำงานให้สถานศึกษาสัปดาห์ละ 4 วัน วันละ 7 ชั่วโมง รวมสัปดาห์ละ 28 ชั่วโมง 21
งานหลวง (ต่อ) • ปกติ 4 วันนั้น จะเป็นวันจันทร์ – ศุกร์ โดยให้ไปทำงานราษฎร์ได้สัปดาห์ละ 1 วัน • สำหรับงานราษฎร์นอกจากสัปดาห์ละ 1 วัน ระหว่างจันทร์ – ศุกร์ แล้วยังรวม * เวลาในวันทำงานหลวงที่นอกจาก 7 ชั่วโมง ซึ่งอาจจะเป็น 8.00 – 12.00 น. และ 13.00 – 16.00 น. • * เวลาในวันเสาร์ – อาทิตย์ อีกวันละ 7 – 16 ชั่วโมง 22
งานหลวง (ต่อ) • เวลาทำงานแต่ละคนมีเวลาทำงานไม่เท่ากัน - วันหนึ่งมีเวลา 24 ชม. - เวลานอน 7 ชม. เหลือเวลาอีก 17 ชม.- ทำงานหลวง 7 ชม. เหลือเวลาอีก 10 ชม. - เวลาส่วนตัว 2 ชม. เหลือเวลาอีก 8 ชม. - ทำงานราษฎร์ 8 ชม. เหลือเวลาอีก 0 ชม. 23
งานหลวง (ต่อ) • รวมทั้งสัปดาห์มีเวลานอกจากเวลานอน 7 x (24 - 7) = 119 ชม. • ทำงานหลวง 4 x 7 ถึง 5 x 8 = 28 ถึง 40 ชม. • ทำงานราษฎร์ได้สัปดาห์ละ 119 – (28 หรือ 40)= 79 ถึง 91 ชม. 24
งานหลวง (ต่อ) • ตัวอย่างงานหลวง 3.1.1 งานสอน 3.1.2 งานวิจัย 3.1.3 งานบริการวิชาการ 3.1.4 งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม 25
3.1.1 งานสอน • แต่ละสถานศึกษากำหนดงานสอนไม่เท่ากัน • ตัวอย่าง ภาระงานสอน (Teaching Load)- อาจารย์ทั่วไปสอน 2 วิชา - อาจารย์ที่เป็นผู้บริหารสอน 1 วิชา • ถ้าสอนนอกเหนือจากภาระการสอน จะได้รับค่าสอนเพิ่มเติม 26
3.1.2 งานวิจัย • ในต่างประเทศอาจกำหนดผลงานวิจัย - จากอาจารย์เป็น ผศ. 3 บทความ - จาก ผศ. เป็น รศ. 5 บทความ - จาก รศ. เป็น ศ. 7 บทความ • อาจกำหนดว่าต้องคุมวิทยานิพนธ์ปริญญาเอก และปริญญาโทจำนวนหนึ่ง 27
งานวิจัย (ต่อ) • อาจกำหนดว่าต้องได้รับทุนวิจัย อาทิ - National Research Council of Canada - National Science Foundation - กองทุนวิจัยทหาร 28
งานวิจัย (ต่อ) • ตัวอย่าง เมื่อผมขอเลื่อนจาก ผศ. เป็น รศ. ต้องมีบทความวิจัย 5 บทความ จึงขอคุมวิทยานิพนธ์นักศึกษา 20 คน และภายใน 1 ปี ก็ได้ 5 บทความวิจัยครบ ก็ได้เลื่อนตำแหน่ง 29
งานวิจัย (ต่อ) • ในญี่ปุ่นมีศูนย์วิจัยและบริการวิชาการ- ตั้งชื่อให้อาจารย์ อาทิ ศูนย์วิจัยทานากะ และศูนย์อูเอโนะ เป็นต้น - อาจารย์ผู้อำนวยการศูนย์ได้รับเงินพิเศษ ปีละเป็นล้านบาท - ศูนย์ต้องมีนักศึกษาปริญญาเอกและโท จำนวนหนึ่ง- ถ้าไม่มีผลงานก็อาจจะถูกยุบศูนย์ 30
งานวิจัย (ต่อ) • ที่มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ สร้างอาคาร “ศรีศักดิ์ จามรมาน สถานเทคโนโลยีสารสนเทศ”- มูลค่า 670 ล้านบาท - 12 ชั้น 12,000 ตารางเมตร- มีคอมพิวเตอร์เป็นพันเครื่อง - มีห้องวิดีโอคอนเฟอเร้นซ์ - มีห้องมินิเธียเตอร์ - ฯลฯ 31
“ศรีศักดิ์ จามรมาน สถานเทคโนโลยีสารสนเทศ” 32
3.1.3 งานบริการวิชาการ • อาทิ - เป็นประธานกรรมการและกรรมการต่างๆ ให้หน่วยงานของรัฐ - เป็นนายกและกรรมการสมาคมวิชาการ- เป็นที่ปรึกษาหน่วยงานรัฐบาล - เป็นที่ปรึกษาวุฒิสภาและสภาผู้แทนราษฎร์ 33
งานบริการวิชาการ (ต่อ) - เป็นที่ปรึกษาศาล - เป็นผู้จัดรายการโทรทัศน์และวิทยุ- เป็นผู้เขียนบทความวิชาการลงหนังสือพิมพ์ และนิตยสาร - ฯลฯ 34
งานบริการวิชาการ (ต่อ) • ตัวอย่างผลงานบริการวิชาการของผมเอง อาทิ- นายกสมาคมคอมพิวเตอร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ * พ.ศ. 2543-2545 * พ.ศ. 2545-2547 * พ.ศ. 2549-2551 * พ.ศ. 2551-2553 และนายกกิตติมศักดิ์สมาคมคอมพิวเตอร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์พ.ศ. 2547-2549 35
งานบริการวิชาการ(ต่อ) • นายกสมาคมอินเทอร์เน็ต • นายกสมาคมอินเทอร์เน็ตนานาชาติ สาขาประเทศไทย • นายกสมาคมคอมพิวเตอร์นานาชาติเอซีเอ็ม สาขาประเทศไทย 36
งานบริการวิชาการ(ต่อ) • - นายกสาขาร่วมแห่งประเทศไทยสมาคมคอมพิวเตอร์ และสมาคมการจัดการงานวิศวกรรม แห่งสถาบันวิศวกรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ • นายกสมาคมธุรกิจอินเทอร์เน็ตไทย • นายกสมาคมการศึกษาอิเล็กทรอนิกส์ ภาคพื้นเอเชียแปซิฟิก 37
งานบริการวิชาการ(ต่อ) - ผู้ดำเนินรายการ"อินเทอร์เน็ตไอทีกับศรีศักดิ์จามรมาน" AM 819 ทุกวันจันทร์เวลา 14.10 - 15.00 น. - ผู้ดำเนินรายการ"สนทนาภาษาไอทีกับศรีศักดิ์จามรมาน“FM 92.5 และ AM 891 ทุกวันจันทร์ เวลา 14.00 – 15.00 น. 38
งานบริการวิชาการ(ต่อ) - ผู้ดำเนินรายการโทรทัศน์"อินเทอร์เน็ตไอทีกับศรีศักดิ์จามรมาน" UBC ช่อง DLTV 9 หรือ DSTV 89 ทุกวันอาทิตย์เวลา 12.00 - 13.00 น. 39
งานบริการวิชาการ(ต่อ) - ประธานมูลนิธิศ.ดร. ศรีศักดิ์จามรมาน - ประธานกรรมการอาวุโสมูลนิธิสหวิทยาการ เพื่อการวิจัยและพัฒนา- ประธานบรรณาธิการ International Journal of Computer, the Internet and Management (IJCIM) 40
งานบริการวิชาการ(ต่อ) - ผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการลิขสิทธิ์ แต่งตั้งโดยมติคณะรัฐมนตรี ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์- ประธานอนุกรรม การส่งเสริมการคุ้มครองลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ ในคณะกรรมการลิขสิทธิ์แห่งชาติ- ที่ปรึกษาคณะกรรมการกำกับการพัฒนาเว็บไซต์ ของกรุงเทพมหานคร 41
งานบริการวิชาการ(ต่อ) - ประธานกรรมการคณะกรรมการประสานเชื่อมโยง และจัดวางระบบฐานข้อมูลกับหน่วยงานวิชาการ ต่างๆและจัดวางกลไกการใช้ข้อมูล สำนักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ- ที่ปรึกษาคณะกรรมการสร้างกลไกการมีส่วนร่วม จากภาคประชาชนเพื่อสนับสนุนการทำงาน ของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และการสร้างองค์กรการเรียนรู้ของภาคประชาชน สำนักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 42
งานบริการวิชาการ(ต่อ) • - ประธานคณะอนุกรรมการ กำหนดมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ สาขานักออกแบบเว็บไซต์ • ที่ปรึกษาคณะกรรมการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ กรุงเทพมหานครซึ่งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร • เป็นประธาน 43
งานบริการวิชาการ(ต่อ) - ประธานคณะอนุกรรมการ กำหนดมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ สาขาผู้ดูแลระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ - ประธานคณะอนุกรรมการ กำหนดมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ สาขาช่างซ่อมไมโครคอมพิวเตอร์ 44
งานบริการวิชาการ(ต่อ) - ประธานคณะอนุกรรมการ กำหนดมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ สาขาพนักงานคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย(ออร์เธอร์แวร์) - ประธานคณะอนุกรรมการ กำหนดมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ สาขานักเขียนโปรแกรมเว็บแบบโต้ตอบ 45
งานบริการวิชาการ(ต่อ) - ประธานจัดการประกวดซอฟต์แวร์ฟอนต์ภาษาไทย กระทรวงพาณิชย์ - ประธานจัดสัมมนา International Conference on eLearning for Knowledge-Based Society* พ.ศ. 2547 * พ.ศ. 2548 * พ.ศ. 2549 * พ.ศ. 2550* พ.ศ. 2551 46
งานบริการวิชาการ(ต่อ) - กรรมการสหวิทยาการเพื่อการวิจัยและพิจารณา แต่งตั้งโดยนายกราชบัณฑิตยสถาน - ประธานอาวุโสมูลนิธิสหวิทยาการ เพื่อการวิจัยและพัฒนา - เคยเป็นประธานคณะกรรมการจัดสัมมนาeBusiness 2005และสัมมนาeIndustry 2005 - เคยเป็นประธานกรรมการออกข้อกำหนด ระบบทะเบียนการค้ากระทรวงพาณิชย์ 47
งานบริการวิชาการ(ต่อ) - เคยเป็นประธานกรรมการหลักสูตรคอมพิวเตอร์ และโทรคมนาคมทบวงมหาวิทยาลัย- เคยเป็นคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยอินเทอร์เน็ต และพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ - เคยเป็นบรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา หนังสือพิมพ์ @Internet 48
งานบริการวิชาการ(ต่อ) - เคยเป็นรองประธานกรรมาธิการวิสามัญ พิจารณาร่างพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ สภาผู้แทนราษฎร- เคยเป็นที่ปรึกษากิตติมศักดิ์กรรมาธิการศึกษาสภาผู้แทนราษฎร- เคยเป็นที่ปรึกษาคณะอนุกรรมการ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การทะเบียนแห่งชาติ 49
งานบริการวิชาการ(ต่อ) - เคยเป็นที่ปรึกษาคณะทำงานด้านบูรณาการ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและระบบสื่อสาร การทะเบียน - เคยเป็นประธานคณะทำงานด้านซอฟต์แวร์ และบุคลากรสารสนเทศสภาการศึกษาแห่งชาติ - เคยเป็นหัวหน้าโครงการนำร่อง พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เพื่อสนับสนุนการส่งออก กระทรวงพาณิชย์ 50