1 / 57

มาตรฐานการอาชีวศึกษา

มาตรฐานการอาชีวศึกษา. ผู้อำนวยการสำนักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. ยุทธศาสตร์การปฏิรูปอาชีวศึกษา-ฝึกอบรม (มติ ครม. 2546 ). Re-Organizing - ปฏิรูประบบการบริหารและจัดการ - พัฒนาระบบความร่วมมือ - พัฒนาระบบ คุณภาพมาตรฐาน. Re-financing

vaughan
Download Presentation

มาตรฐานการอาชีวศึกษา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. มาตรฐานการอาชีวศึกษา ผู้อำนวยการสำนักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

  2. ยุทธศาสตร์การปฏิรูปอาชีวศึกษา-ฝึกอบรม(มติ ครม.2546) Re-Organizing - ปฏิรูประบบการบริหารและจัดการ - พัฒนาระบบความร่วมมือ - พัฒนาระบบ คุณภาพมาตรฐาน Re-financing Re-mobilizing resources -ศึกษาวิจัยและพัฒนาระบบการเงิน - ปฏิรูประบบบุคลากร - วิจัยเพื่อพัฒนา นโยบายและติดตามประเมินผลเกี่ยวกับสื่อและเทคโนโลยี Re-orientating - นโยบายและแผน พัฒนากำลังคนของชาติ - พัฒนาระบบคุณวุฒิ วิชาชีพและปฏิรูปการ เรียนรู้เพื่อปรับค่านิยม - ปฏิรูประบบการเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับ ความต้องการของ ตลาดแรงงานและSME

  3. การนำเสนอนโยบายโดยสภาพัฒน์ฯการนำเสนอนโยบายโดยสภาพัฒน์ฯ มติครม. 2พย. 2547สำหรับกระทรวงศึกษาธิการ 1 จัดทำแผนปฏิบัติการ การพัฒนากำลังคนของอุตสาหกรรมต่างๆ 2 กำหนดให้มีหน่วยงานรับผิดชอบเป็นแกนกลางประสานสถาบันการศึกษา และอุตสาหกรรม เพื่อปรับหลักสูตรการศึกษา แลกเปลี่ยนเทคโนโลยี/ องค์ความรู้ให้ทันต่อภาคอุตสาหกรรมอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง 3 เร่งรัดจัดทำระบบมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพของอุตสาหกรรมที่ดำเนินการอยู่ในปัจจุบันให้เริ่มปฏิบัติจริงโดยเร็ว ก่อนพิจารณาขยายสู่สาขาอื่นตามสมควร

  4. เน้นให้อาชีวศึกษาสามารถผลิตคนได้ตามความต้องการของประเทศเน้นให้อาชีวศึกษาสามารถผลิตคนได้ตามความต้องการของประเทศ • ส่งเสริมให้ปรับปรุงหลักสูตรการเรียนการสอน • เร่งรัดให้มีการนำระบบคุณวุฒิวิชาชีพมาใช้โดยเร็ว • ส่งเสริมการศึกษาแบบทวิภาคี • ส่งเสริมภาพพจน์และบทบาททางสังคม • การใช้ทรัพยากรเพื่อการดำเนินงาน นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ • ผลผลิต • เพิ่มจำนวนผู้เรียนอาชีวศึกษา • เชิงปริมาณและคุณภาพจาก • 70:30 เป็น 50:50 • ปรับเปลี่ยนระบบการเรียนการสอน • เพื่อผลิตกำลังคนให้สอดคล้องกับ • กลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมาย • บริหารจัดการความรู้อย่างเป็นระบบ • ผลลัพธ์ • Economic return : เพิ่มรายได้ประชาชาติ • Social return : การศึกษา สังคม สุขภาพ • ความเป็นอยู่ และความมั่นคง • Efficiency Quality Equity • นักศึกษาจะได้รับเทคโนโลยีใหม่ ๆ • ครูผู้สอนมีองค์ความรู้เป็นปัจจุบัน • การขยายโอกาสทางการศึกษาวิชาชีพ

  5. เป้าหมาย ผลิตและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษาให้มีปริมาณและคุณภาพสอดคล้องกับตลาดแงงาน ตามกลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมาย จัดหาและพัฒนา ศักยภาพบุคลากร ร่วมกับสถาน ประกอบการ ใน/ต่างประเทศ/ สกอ. พัฒนาหลักสูตรฐาน สมรรถนะ • พัฒนา • สื่อ นวัตกรรม • เทคโนโลยี • ห้องปฏิบัติการ • โรงงานในสถานศึกษา • สถานศึกษาในโรงงาน • Software House พัฒนาระบบ คุณวุฒิวิชาชีพ และ มาตรฐานอาชีพ พัฒนาระบบ บริหารจัดการ แบบมีส่วนร่วม พัฒนาภาพลักษณ์ แห่งคุณภาพ อาชีวศึกษา กระบวนการผลิต • ภาพลักษณํแห่ง • คุณภาพการ • อาชีวศึกษา • มีความชัดเจน • สถานประกอบการ • และสังคมให้ • การยอมรับ • การเพิ่มปริมาณ • และคุณภาพ • ของตัวป้อนเข้า • สู่ระบบอาชีวศึกษา บุคลากรเพียงพอ และมีศักยภาพ สอดคล้องกับการ ผลิตกำลังคน สถานศึกษามีศักยภาพและความพร้อมด้าน หลักสูตร สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี ห้องปฏิบัติการโรงงานในสถานศึกษา สถานศึกษาในโรงงาน เพื่อผลิต กำลังคนที่มีสมรรถนะในการผลิตและ บริการสอดคล้องและตรงกับความต้องการ ตามกลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมาย • ความร่วมมือ • ระหว่างผู้ผลิตและ • ผู้ใช้ในการดำเนินงาน • ด้าน • การทำ • Co-operate plan • การจัดการเรียนการสอน • การวิจัยและพัฒนา • และการจัดการความรู้ ผลผลิต กำลังคน เฉพาะทาง ฝีมือ ช่างเทคนิค และนักเทคโนโลยี ที่มีปริมาณและคุณภาพในการผลิตและบริการ สอดคล้องกับความต้องการและยุทธศาสตร์การพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ปีงบประมาณ 2549-2552 ระยะเวลา

  6. 13 อุตสาหกรรมยุทธศาสตร์ของประเทศ อุตสาหกรรมศักยภาพสูง เกษตรและอาหาร ยานยนต์และชิ้นส่วน ท่องเที่ยว แฟชั่น ผลิตภัณฑ์ยาง ซอฟแวร์ เซรามิกส์ เฟอร์นิเจอร์ไม้ อุตสาหกรรมสนับสนุน ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิคส์ แม่พิมพ์ โลจิสติกส์ อุตสาหกรรมพื้นฐาน ปิโตรเคมี เหล็กและเหล็กกล้า มาตรวิทยา สิ่งแวดล้อม

  7. มาตรฐานหลักที่เกี่ยวข้องกับมาตรฐานหลักที่เกี่ยวข้องกับ การจัดการอาชีวศึกษา มาตรฐานการอาชีวศึกษา (Vocational Education Standards) มาตรฐานอาชีพ (Occupational Standards/ Competency Standards) มาตรฐานวิชาชีพสาขาวิชา (General Vocational Education Standards)

  8. มาตรฐานหลักที่เกี่ยวข้องกับการจัดการอาชีวศึกษามาตรฐานหลักที่เกี่ยวข้องกับการจัดการอาชีวศึกษา เทียบ ประสบการณ์ คุณวุฒิวิชาชีพ (Vocational Qualification) คุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ (General Vocational Education Qualification) มาตรฐานการอาชีวศึกษา (Vocational Education Standards/ Institutional Standards) มาตรฐานการศึกษาวิชาชีพ/ มาตรฐานวิชาชีพสาขาวิชา (General Vocational Education Standards) มาตรฐานอาชีพ (Occupational Standards/ Competency Standards)

  9. ระบบคุณวุฒิวิชาชีพ (Vocational Qualification System) กระบวนการพัฒนาระบบคุณวุฒิวิชาชีพ (Vocational Qualifications) กระบวนการจัดทำมาตรฐานอาชีพ (Occupational Standards / Standards of Competence) การจำแนกระดับของมาตรฐานสมรรถนะ (Standards of Competence) Training Programmes Qualifications (NVQ/SVQ/TVQ) Recruitment จัดทำข้อกำหนดของมอดูล(Modulespecification) ระบบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ (Vocational Education Qualification Systems)

  10. ระบบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพระบบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ (General Vocational Education Qualification Systems) จัดทำข้อกำหนดของมอดูล (Module Specifications) จัดทำมอดูลฐานสมรรถนะ (Competency-Based Module) กำหนดระดับคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ (GVQ) จัดทำมาตรฐานการศึกษาวิชาชีพแต่ละสาขาวิชา จัดทำมาตรฐานการศึกษาวิชาชีพแต่ละสาขาวิชา กำหนดรูปแบบของหลักสูตรฐานสมรรถนะ(Competency-Based Curriculum) เชื่อมโยงรูปแบบหลักสูตรฐานสมรรถนะเข้าสู่โครงสร้างของหลักสูตรปกติ

  11. คุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ หลักสูตร คุณวุฒิวิชาชีพ VQ4 VQ3 VQ2 GVQ5 ปวส.2 GVQ4ปวส1 GVQ3 ปวช.3 GVQ2 ปวช.2 GVQ1 ปวช.1 • COMPETENCY BASED • CURRICULUM • TYPE SHOP • CAN WORK BASIC • APPLY BASIC+IT • INVENT ADVANCED • PLACE • * COLLEGE • * ENTERPRISE • * SOCIAL SHOP

  12. แนวการจัดหลักสูตรวิชาชีพ ระดับ ปวช. สมรรถนะของผู้เรียน ลักษณะหลักสูตร ระดับคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ ระดับคุณวุฒิวิชาชีพ มีความรู้ความเข้าใจในวิธีการและวิธีดำเนินการ สามารถปฏิบัติงานโดยใช้ทักษะในขอบเขตสำคัญและบริบทต่าง ๆ ที่สัมพันธ์กัน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นงานประจำ สามารถประยุกต์ทักษะและความรู้ไปสู่บริบทใหม่ ๆ สามารถให้คำแนะนำและแก้ปัญหาเฉพาะด้าน อาจต้องรับผิดชอบต่อผู้อื่น รวมทั้งมีส่วนร่วมและหรือมีการประสานงานกลุ่มหรือหมู่คณะ ใช้ เป็นผู้ปฏิบัติการ มีความรู้ความเข้าใจในวิธีการและวิธีดำเนินการ สามารถปฏิบัติงานโดยใช้ทักษะในขอบเขตสำคัญและบริบทต่าง ๆ ที่สัมพันธ์กัน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นงานประจำ สามารถประยุกต์ทักษะและความรู้ไปสู่บริบทใหม่ ๆ สามารถให้คำแนะนำและแก้ปัญหาเฉพาะด้าน อาจต้องรับผิดชอบต่อผู้อื่น รวมทั้งมีส่วนร่วมและหรือมีการประสานงานกลุ่มหรือหมู่คณะ ซ่อม เป็นผู้ปฏิบัติการที่มีความชำนาญสามารถแก้ปัญหาได้ ปวช. 1 ปวช. 2 ปวช. 3 VQ 2 VQ 3 สามารถใช้เทคโนโลยีในการทำงาน สร้าง เป็นผู้ปฏิบัติการที่มีความชำนาญสามารถแก้ปัญหาได้ และประดิษฐ์คิดค้นสิ่ง ใหม่ ๆ โดยใช้กระบวนการวิจัย มีความรู้ความเข้าใจในวิธีการและวิธีดำเนินการ สามารถปฏิบัติงานโดยใช้ทักษะในขอบเขตสำคัญและบริบทต่าง ๆ ที่สัมพันธ์กัน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นงานประจำ สามารถประยุกต์ทักษะและความรู้ไปสู่บริบทใหม่ ๆ สามารถให้คำแนะนำและแก้ปัญหาเฉพาะด้าน อาจต้องรับผิดชอบต่อผู้อื่น รวมทั้งมีส่วนร่วมและหรือมีการประสานงานกลุ่มหรือหมู่คณะ สามารถใช้เทคโนโลยีและวิทยาการใหม่ ๆ รวมทั้งกระบวนการวิจัยอย่างง่ายในการปรับปรุงและพัฒนางาน

  13. แนวการจัดหลักสูตรวิชาชีพ ระดับ ปวส. สมรรถนะของผู้เรียน ลักษณะหลักสูตร ระดับคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ ระดับคุณวุฒิวิชาชีพ สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะในวิชาการที่สัมพันธ์กับวิชาชีพตามแนวทางของตนเองในการวางแผนทรัพยากรที่เหมาะสม มีส่วนร่วมพัฒนาวิธีการ ริเริ่มสิ่งใหม่ ๆ มีความรับผิดชอบต่อตนเอง ผู้อื่น และหมู่คณะ เป็นอิสระในการปฏิบัติงานที่ซับซ้อนหรือจัดการงานผู้อื่น มีส่วนร่วมที่เกี่ยวกับการวางแผน การประสานงาน และการประเมินผล ใช้ เป็นผู้ปฏิบัติการ สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะในวิชาการที่สัมพันธ์กับวิชาชีพตามแนวทางของตนเองในการวางแผนทรัพยากรที่เหมาะสม มีส่วนร่วมพัฒนาวิธีการ ริเริ่มสิ่งใหม่ ๆ มีความรับผิดชอบต่อตนเอง ผู้อื่น และหมู่คณะ เป็นอิสระในการปฏิบัติงานที่ซับซ้อนหรือจัดการงานผู้อื่น มีส่วนร่วมที่เกี่ยวกับการวางแผน การประสานงาน และการประเมินผล ซ่อม เป็นผู้ปฏิบัติการที่มีความชำนาญสามารถแก้ปัญหาได้ ปวส. 1 ปวส. 2 VQ 4 สามารถใช้เทคโนโลยีในการทำงาน และกระบวนการวิจัยอย่างง่าย ในการปรับปรุงงาน สร้าง เป็นผู้ปฏิบัติการที่มีความชำนาญสามารถแก้ปัญหาได้ และประดิษฐ์คิดค้นสิ่ง ใหม่ ๆ โดยใช้กระบวนการวิจัย สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะในวิชาการที่สัมพันธ์กับวิชาชีพตามแนวทางของตนเองในการวางแผนทรัพยากรที่เหมาะสม มีส่วนร่วมพัฒนาวิธีการ ริเริ่มสิ่งใหม่ ๆ มีความรับผิดชอบต่อตนเอง ผู้อื่น และหมู่คณะ เป็นอิสระในการปฏิบัติงานที่ซับซ้อนหรือจัดการงานผู้อื่น มีส่วนร่วมที่เกี่ยวกับการวางแผน การประสานงาน และการประเมินผล สามารถใช้เทคโนโลยีและวิทยาการใหม่ ๆ รวมทั้งกระบวนการวิจัยในการปรับปรุงและพัฒนางาน

  14. มาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐาน การศึกษา ขั้นพื้นฐาน มาตรฐาน การอุดมศึกษา มาตรฐาน การอาชีวศึกษา มาตรฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายนอก

  15. มาตรฐานการศึกษาของชาติมาตรฐานการศึกษาของชาติ อุดมการณ์สำคัญของการจัดการศึกษา คือ การจัดให้มีการศึกษาตลอดชีวิตและการสร้างสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ 3 มาตรฐาน 11 ตัวบ่งชี้

  16. มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์ทั้งในฐานะพลเมืองและพลโลก คนไทยเป็นคนเก่ง คนดี และมีความสุข  กำลังกาย กำลังใจที่สมบูรณ์  ความรู้และทักษะที่จำเป็นและเพียงพอในการดำรงชีวิต  ทักษะการเรียนรู้และการปรับตัว  ทักษะทางสังคม  คุณธรรม จิตสาธารณะและจิตสำนึกในความเป็น พลเมืองไทยและพลโลก

  17. มาตรฐานที่ 2 แนวการจัดการศึกษา จัดการเรียนรู้ที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนเป็นสำคัญและ บริหารโดยใช้สถานศึกษาเป็นฐาน  การจัดหลักสูตรการเรียนรู้และสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริม ให้ผู้เรียนได้พัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ  มีการพัฒนาผู้บริหาร ครู คณาจารย์ และบุคลากร ทางการศึกษาอย่างเป็นระบบและมีคุณภาพ  มีการบริหารจัดการที่ใช้สถานศึกษาเป็นฐาน

  18. มาตรฐานที่ 3 แนวการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้/สังคมแห่งความรู้ การสร้างวิถีการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้ให้เข้มแข็ง  การบริการวิชาการและสร้างความร่วมมือระหว่าง สถานศึกษากับชุมชนให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ /สังคมแห่งความรู้  การศึกษาวิจัย สร้างเสริม สนับสนุน แหล่งการเรียนรู้ และกลไกการเรียนรู้  การสร้างและการจัดการความรู้ในทุกระดับ ทุกมิติของ สังคม

  19. การพัฒนามาตรฐานการอาชีวศึกษาการพัฒนามาตรฐานการอาชีวศึกษา • ปีงบประมาณ 2547 • ศึกษามาตรฐานการอาชีวศึกษาของต่างประเทศ • ศึกษามาตรฐานการศึกษาชาติ • ร่วมกับทุกหน่วยงานที่จัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษาผู้แทนสถานศึกษา และสมศ. .วิเคราะห์ภาระกิจของสถานศึกษา . วิเคราะห์ปัญหาในการดำเนินงานที่ผ่านมา . วิเคราะห์ความสอดคล้องของมาตรฐานการประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษาของทุกหน่วยงานและของ สมศ. • จัดประชุมยกร่างมาตรฐานการอาชีวศึกษา

  20. ปีงบประมาณ 2548 • - ประชุมพิจารณายกร่างโดยผู้ทรงคุณวุฒิ • - ประชาปรึกษา 5 ภาค (ตัวแทนทุกองค์กร) • - นำเสนอคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 2 ครั้ง • - คณะอนุกรรมการปฏิรูปการเรียนการสอน คณะที่ 2 2 ครั้ง พิจารณาให้ข้อเสนอแนะ • -นำเสนอคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และมีมติเห็นชอบ/อนุมัติในหลักการเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2548 (ครั้งที่6/2548) และให้พิจารณาปรับรายละเอียดเล็กน้อยและแจ้งให้ทราบในการประชุมต่อไป เพื่อได้ดำเนินการเสนอกระทรวงฯ และประกาศใช้ต่อไปและได้นำเสนอเพื่อทราบในการประชุมครั้งที่ 7/2548 ในวันที่ 31 สิงหาคม 2548 • - เสนอรัฐมนตรีฯเพื่อเป็นประกาศกระทรวงฯ

  21. ปีงบประมาณ 2549 • - ปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะของที่ปรึกษารัฐมนตรีและคณะกรรมการสอศ.ฯ • - รัฐมนตรีลงนามในประกาศกระทรวง ฯ 30 มกราคม 2549

  22. มาตรฐานการอาชีวศึกษาอุดมการณ์และหลักการในการจัดการอาชีวศึกษา อุดมการณ์ที่สำคัญในการจัดการอาชีวศึกษาและการฝึกอบรมวิชาชีพ คือ การพัฒนากำลังคนระดับกึ่งฝีมือ ระดับฝีมือ ระดับเทคนิคและระดับเทคโนโลยีเพื่อให้เกิดคุณภาพตามสมรรถนะอาชีพที่กำหนดไว้ โดยจัดในสถานศึกษาของรัฐ สถานศึกษาของเอกชน สถานประกอบการ หรือโดยความร่วมมือระหว่างสถานศึกษากับสถานประกอบการ อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพตามมาตรฐานสากล ทั้งนี้จะต้องสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนการศึกษาชาติ ปรัชญาการอาชีวศึกษา ภายใต้การสนับสนุนทรัพยากรตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อผลิตกำลังคนที่มีคุณภาพให้มีศักยภาพในการพัฒนาประเทศ

  23. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 และนโยบายด้านการศึกษาของรัฐบาลให้ยึดหลักการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ และเพื่อให้คนไทยทั้งปวงได้รับโอกาสเท่าเทียมกันทางการศึกษา พัฒนาได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต อันเป็นเงื่อนไขไปสู่ระบบเศรษฐกิจฐานความรู้ สามารถพึ่งตนเองได้ และสามารแข่งขันได้ในระดับนานาชาติ เพื่อให้เป็นไปตามอุดมการณ์และหลักการในการจัดการอาชีวศึกษาดังกล่าว จึงได้กำหนดมาตรฐานและตัวบ่งชี้เพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการกำกับ ดูแล ตรวจสอบ และประเมินผล สำหรับการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา จำนวน 6 มาตรฐาน 34 ตัวบ่งชี้ ได้แก่

  24. มาตรฐานที่ 1 ผู้เรียนและผู้สำเร็จการศึกษาวิชาชีพ มาตรฐานที่ 2 หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน มาตรฐานที่ 3 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มาตรฐานที่ 4 การบริการวิชาชีพสู่สังคม มาตรฐานที่ 5 นวัตกรรมและการวิจัย มาตรฐานที่ 6 ภาวะผู้นำและการจัดการ

  25. มาตรฐานที่ 1 ผู้เรียนและผู้สำเร็จการศึกษาวิชาชีพ ข้อกำหนด 1 สถานศึกษาควรจัดการพัฒนาผู้เรียนและผู้สำเร็จ การศึกษาในเรื่องต่อไปนี้ ข้อกำหนด 1.1 ความรู้และทักษะวิชาชีพตามหลักสูตรที่เหมาะสมกับ เศรษฐกิจสังคมและเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป ตัวบ่งชี้ 1. ร้อยละของผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามเกณฑ์ที่ กำหนดตามชั้นปี

  26. มาตรฐานที่ 1 ผู้เรียนและผู้สำเร็จการศึกษาวิชาชีพ ข้อกำหนด 1 สถานศึกษาควรจัดการพัฒนาผู้เรียนและผู้สำเร็จ การศึกษาในเรื่องต่อไปนี้ ข้อกำหนด 1.2 ความรู้ความเข้าใจในหลักการด้านคณิตศาสตร์และ วิทยาศาสตร์ให้สามารถนำมาประยุกต์ ใช้ในงานอาชีพได้ ตัวบ่งชี้ 2. ร้อยละของผู้เรียนที่สามารถประยุกต์หลักการทางวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์มาใช้แก้ปัญหาในการปฏิบัติงานอาชีพอย่าง เป็นระบบ

  27. มาตรฐานที่ 1 ผู้เรียนและผู้สำเร็จการศึกษาวิชาชีพ ข้อกำหนด 1 สถานศึกษาควรจัดการพัฒนาผู้เรียนและผู้สำเร็จ การศึกษา ในเรื่องต่อไปนี้ ข้อกำหนด 1. 3 ทักษะในการใช้ภาษาสื่อสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ตัวบ่งชี้ 3. ร้อยละของผู้เรียนที่มีทักษะการใช้ภาษาสื่อสาร ด้าน การฟัง การอ่าน การเขียน และการสนทนา ทั้ง ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ

  28. มาตรฐานที่ 1 ผู้เรียนและผู้สำเร็จการศึกษาวิชาชีพ ข้อกำหนด 1 สถานศึกษาควรจัดการพัฒนาผู้เรียนและผู้สำเร็จ การศึกษา ในเรื่องต่อไปนี้ ข้อกำหนด 1. 4 ความรู้และทักษะการใช้เทคโนโลยีที่จำเป็นในการศึกษา ค้นคว้าและปฏิบัติงานวิชาชีพได้อย่างเหมาะสม ตัวบ่งชี้ 4. ร้อยละของผู้เรียนที่มีความสามารถใช้ความรู้และเทคโนโลยี ที่จำเป็นในการศึกษาค้นคว้าและปฏิบัติงานวิชาชีพได้อย่าง เหมาะสม

  29. มาตรฐานที่ 1 ผู้เรียนและผู้สำเร็จการศึกษาวิชาชีพ ข้อกำหนด 1 สถานศึกษาควรจัดการพัฒนาผู้เรียนและผู้สำเร็จ การศึกษา ในเรื่องต่อไปนี้ ข้อกำหนด 1.5 คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดีงามในวิชาชีพ การมี บุคลิกภาพที่เหมาะสมและมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ตัวบ่งชี้ 5. ร้อยละของผู้เรียนที่มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดีงามใน วิชาชีพ มีบุคลิกภาพที่เหมาะสมและมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี

  30. มาตรฐานที่ 1 ผู้เรียนและผู้สำเร็จการศึกษาวิชาชีพ ข้อกำหนด 1 สถานศึกษาควรจัดการพัฒนาผู้เรียนและผู้สำเร็จ การศึกษา ในเรื่องต่อไปนี้ ข้อกำหนดที่ 1. 6 ความรู้และทักษะตามมาตรฐานวิชาชีพ และหลักสูตร สำหรับผู้สำเร็จการศึกษา ตัวบ่งชี้ 6. ร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตาม เกณฑ์การสำเร็จการศึกษา 7. ร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษาที่ผ่านการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ

  31. มาตรฐานที่ 1 ผู้เรียนและผู้สำเร็จการศึกษาวิชาชีพ ข้อกำหนด 1 สถานศึกษาควรจัดการพัฒนาผู้เรียนและผู้สำเร็จ การศึกษา ในเรื่องต่อไปนี้ ข้อกำหนด 1. 7 ความรู้และทักษะในการหางานทำ การศึกษาต่อและการ ประกอบอาชีพอิสระ ตัวบ่งชี้ 8. ร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษาที่ได้งานทำในสถานประกอบการ/ ประกอบการ/ประกอบอาชีพอิสระและศึกษาต่อภายใน 1 ปี

  32. มาตรฐานที่ 1 ผู้เรียนและผู้สำเร็จการศึกษาวิชาชีพ ข้อกำหนด 1 สถานศึกษาควรจัดการพัฒนาผู้เรียนและผู้สำเร็จ การศึกษา ในเรื่องต่อไปนี้ ข้อกำหนด 1.8 คุณลักษณะของผู้สำเร็จการศึกษาที่สถานประกอบการหรื หน่วยงานพึงพอใจ ตัวบ่งชี้ 9. ระดับความพึงพอใจของสถานประกอบการที่มีต่อ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ด้านคุณธรรม จริยธรรม และ จรรยาบรรณในวิชาชีพของผู้สำเร็จการศึกษา

  33. มาตรฐานที่ 2 พัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ข้อกำหนด 2 สถานศึกษาควรพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการ สอน ดังนี้ ข้อกำหนด 2.1 ร่วมมือกับสถานประกอบการในการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะที่ สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน ตัวบ่งชี้ 10. ระดับคุณภาพของหลักสูตรฐานสมรรถนะของสถานศึกษาที่มีการพัฒนา ตามความต้องการของตลาดแรงงาน

  34. มาตรฐานที่ 2 พัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ข้อกำหนด 2 สถานศึกษาควรพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการ สอน ดังนี้ ข้อกำหนด 2.2 จัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญโดยส่งเสริมให้ผู้เรียน ได้พัฒนาตนเองตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ ตัวบ่งชี้ 11. ระดับคุณภาพของการจัดการเรียนรู้อย่างหลากหลาย โดยเน้น ผู้เรียนเป็นสำคัญในการฝึกทักษะวิชาชีพ มีการฝึกปฏิบัติจริง เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาตามธรรมชาติ เต็มตามศักยภาพและ 12. ร้อยละของงบประมาณที่สถานศึกษาจัดซื้อวัสดุฝึก อุปกรณ์ สำหรับการจัดการเรียนการสอนอย่างเหมาะสม

  35. มาตรฐานที่ 2 พัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ข้อกำหนด 2 สถานศึกษาควรพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ดังนี้ ข้อกำหนด 2.3 จัดระบบคอมพิวเตอร์ให้เหมาะสมและเพียงพอในแต่ละสาขาวิชา ตัวบ่งชี้ 13. ระดับความเหมาะสมและเพียงพอของระบบคอมพิวเตอร์ในแต่ละสาขาวิชา ข้อกำหนด 2.4 จัดสถานที่เรียน สถานที่ฝึกปฏิบัติงาน สถานที่ศึกษาค้นคว้าให้เหมาะสม กับสาขาวิชา ทั้งในสถานศึกษา สถานประกอบการ และแหล่งการเรียนรู้อื่น ๆ ตัวบ่งชี้ 14. ระดับความเหมาะสมในการจัดอาคารเรียน อาคารประกอบ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ ศูนย์วิทยบริการโรงฝึกงาน พื้นที่ฝึกปฏิบัติงานเหมาะสมกับวิชาที่เรียน มีบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ และเกิดประโยชน์สูงสุด

  36. มาตรฐานที่ 2 พัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ข้อกำหนด 2 สถานศึกษาควรพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ดังนี้ ข้อกำหนด 2.5 จัดระบบความปลอดภัยของสภาพแวดล้อมและสิ่งอำนวยความสะดวก ที่ เอื้อต่อการเรียนรู้ ตัวบ่งชี้ 15. ระดับคุณภาพการจัดระบบความปลอดภัย ของสภาพแวดล้อม สิ่งอำนวย ความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ในสถานศึกษา ข้อกำหนด 2.6 พัฒนาบุคลากรทุกคนของสถานศึกษาในงานที่เกี่ยวข้องอย่างเป็นระบบและ ต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ 16. ร้อยละของบุคลากรภายในสถานศึกษาที่ได้รับการพัฒนาตามหน้าที่ที่รับผิดชอบ

  37. มาตรฐานที่ 2 พัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ข้อกำหนด 2 สถานศึกษาควรพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ดังนี้ ข้อกำหนด 2.7 ระดมทรัพยากรจากทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาร่วมกันจัด การศึกษาทั้งในระบบและทวิภาคีอย่างมีประสิทธิภาพ ตัวบ่งชี้ 17. จำนวนครั้งหรือปริมาณในการระดมทรัพยากรจากแหล่งต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอก สถานศึกษา เพื่อสนับสนุนการจัดการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ 18. จำนวนสถานประกอบการที่มีการจัดการศึกษาร่วมกับสถานศึกษาจัดการศึกษาระบบทวิ ภาคีและระบบปกติ 19. จำนวนคน-ชั่วโมงของผู้เชี่ยวชาญ ผู้ทรงคุณวุฒิ หรือภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีส่วนร่วมใน การพัฒนาผู้เรียน 20. อัตราส่วนของผู้สอนประจำที่มีคุณวุฒิด้านวิชาชีพต่อผู้เรียนในแต่ละสาขาวิชา 21. อัตราส่วนของผู้สอนประจำต่อผู้เรียน

  38. มาตรฐานที่ 3 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ข้อกำหนด 3 สถานศึกษาควรกำหนดแนวทางในการดูแลผู้เรียนและ จัดกิจกรรม ดังนี้ ข้อกำหนด 3. 1 จัดทำระบบการดูแลให้คำปรึกษาผู้เรียนอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ ตัวบ่งชี้ 22. จำนวนครั้งของการจัดให้ผู้เรียนพบอาจารย์ที่ปรึกษา 23. จำนวนครั้งของการจัดบริการ ตรวจสอบสารเสพติดให้กับผู้เรียน 24. ร้อยละของผู้เรียนที่ออกกลางคันเมื่อเทียบกับแรกเข้า

  39. มาตรฐานที่ 3 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ข้อกำหนด 3 สถานศึกษาควรกำหนดแนวทางในการดูแลผู้เรียนและ จัดกิจกรรม ดังนี้ ข้อกำหนด 3. 2 จัดกิจกรรมส่งเสริมด้านวิชาการ คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่ดีงามในวิชาชีพ รวมทั้งด้านบุคลิกภาพและมนุษยสัมพันธ์ ตัวบ่งชี้ 25. จำนวนครั้งและประเภทของกิจกรรมที่ส่งเสริมด้านวิชาการ คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดีงามในวิชาชีพ รวมทั้งด้านบุคลิกภาพและมนุษยสัมพันธ์

  40. มาตรฐานที่ 3 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ข้อกำหนด 3 สถานศึกษาควรกำหนดแนวทางในการดูแลผู้เรียนและ จัดกิจกรรม ดังนี้ ข้อกำหนด 3.3 จัดกิจกรรมส่งเสริมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม ประเพณี และทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ตัวบ่งชี้ 26. จำนวนครั้งและประเภทของกิจกรรมที่ส่งเสริมการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมวัฒนธรรม ประเพณี และทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม

  41. มาตรฐานที่ 4 การบริการวิชาชีพสู่สังคม ข้อกำหนด 4 สถานศึกษาควรกำหนดแนวทางในการดูแลผู้เรียนและ จัดกิจกรรม ดังนี้ ข้อกำหนด 4.1 บริการวิชาชีพที่เหมาะสมตามความต้องการของชุมชน สังคม องค์กร ทั้งภาครัฐและเอกชนเพื่อการพัฒนาประเทศอย่างต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ 27. จำนวนและประสิทธิผลของกิจกรรม/โครงการที่ให้บริการวิชาชีพและ ส่งเสริมความรู้ในการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่นและกิจกรรม/โครงการฝึก ทักษะวิชาชีพเพื่อการประกอบอาชีพของประชาชน

  42. มาตรฐานที่ 4 การบริการวิชาชีพสู่สังคม ข้อกำหนด 4 สถานศึกษาควรกำหนดแนวทางในการดูแลผู้เรียนและ จัดกิจกรรม ดังนี้ ข้อกำหนด 4.2 จัดสรรงบประมาณเพื่อการบริการวิชาชีพอย่างเป็นระบบและสอดคล้องกับแผนการบริการวิชาชีพที่กำหนด ตัวบ่งชี้ 28. ร้อยละของงบประมาณในการจัดกิจกรรม/โครงการที่ให้บริการ วิชาชีพและส่งเสริมความรู้ในการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น และ กิจกรรม/โครงการฝึกทักษะวิชาชีพเพื่อการประกอบอาชีพของ ประชาชนต่องบประมาณทั้งหมด

  43. มาตรฐานที่ 5 นวัตกรรมและการวิจัย ข้อกำหนด 5 สถานศึกษาควรมีการจัดการเกี่ยวกับนวัตกรรมและ การวิจัย ดังนี้ ข้อกำหนด 5.1 ส่งเสริม สนับสนุนให้มีการสร้างและพัฒนานวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์งานวิจัย และโครงงานที่นำไปใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอน ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ตัวบ่งชี้ 29. จำนวนนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์งานวิจัยและโครงงานที่นำไปใช้ประโยชน์ ในการพัฒนาการเรียนการสอน การประกอบอาชีพและ/หรือการพัฒนา ชุมชน ท้องถิ่น และประเทศซึ่งนำไปสู่การแข่งขันในระดับชาติ

  44. มาตรฐานที่ 5 นวัตกรรมและการวิจัย ข้อกำหนด 5 สถานศึกษาควรมีการจัดการเกี่ยวกับนวัตกรรมและ การวิจัย ดังนี้ ข้อกำหนด 5.2 จัดสรรงบประมาณในการสร้าง พัฒนา และเผยแพร่ นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานวิจัย และโครงงานที่นำไปใช้ในการ พัฒนาการเรียนการสอน ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ตัวบ่งชี้ 30. ร้อยละของงบประมาณที่ใช้ในการสร้าง พัฒนา และเผยแพร่ นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานวิจัย และโครงงานต่องบประมาณ ทั้งหมด

  45. มาตรฐานที่ 5 นวัตกรรมและการวิจัย ข้อกำหนด 5 สถานศึกษาควรมีการจัดการเกี่ยวกับนวัตกรรมและ การวิจัย ดังนี้ ข้อกำหนด 5.3 จัดการเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับการสร้างและพัฒนานวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานวิจัย และโครงงานที่นำไปใช้ในการ พัฒนาการเรียนการสอน ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ตัวบ่งชี้ 31. จำนวนครั้งและช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานวิจัย และโครงงานที่นำไปใช้ในการ พัฒนาการเรียนการสอน ชุมชน สังคม และประเทศชาติ

  46. มาตรฐานที่ 6 ภาวะผู้นำและการจัดการ ข้อกำหนด 6 ผู้บริหารควรมีภาวะผู้นำและจัดการศึกษาใน สถานศึกษาดังนี้ ข้อกำหนด 6.1 ใช้ภาวะผู้นำและการมีวิสัยทัศน์ของผู้บริหารในการผสมผสานความร่วมมือของบุคลากรในสถานศึกษา และหน่วยงาน หรือบุคคลภายนอกให้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ตัวบ่งชี้ 32. ระดับคุณภาพการบริหารของผู้บริหารที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาหรือแผน ยุทธศาสตร์และการมีส่วนร่วมของประชาคมอาชีวศึกษา ด้วยความโปร่งใส ตรวจสอบได้

  47. มาตรฐานที่ 6 ภาวะผู้นำและการจัดการ ข้อกำหนด 6 ผู้บริหารควรมีภาวะผู้นำและจัดการศึกษาในสถานศึกษาดังนี้ ข้อกำหนด 6.2 จัดระบบการดูแลบุคลากรของสถานศึกษาด้านคุณธรรม จริยธรรมตามจรรยาบรรณมาตรฐานวิชาชีพ ตัวบ่งชี้ 33. ร้อยละของบุคลากรในสถานศึกษาที่สามารถปฏิบัติตามจรรยาบรรณมาตรฐานวิชาชีพได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ข้อกำหนด 6.3 จัดระบบสารสนเทศและการจัดการความรู้เพื่อการพัฒนาสถานศึกษาอย่างเหมาะสม ตัวบ่งชี้ 34.ระดับคุณภาพของการจัดระบบสารสนเทศ และการจัดการความรู้ของสถานศึกษา

  48. ความสอดคล้อง มาตรฐานการอาชีวศึกษา ประเมินภายใน มาตรฐานการอาชีวศึกษา ประเมินภายนอก

More Related