150 likes | 318 Views
คลังผลงานวิจัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ CMU Scholarly Research Report Database. สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ความเป็นมา. ปี 2550 จัดทำฐานข้อมูลทางวิชาการของนักวิจัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ที่เผยแพร่ ในฐานข้อมูลสากล โดยรวบรวมผลงานทางวิชาการที่เผยแพร่ใน
E N D
คลังผลงานวิจัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่CMU Scholarly Research Report Database สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ความเป็นมา • ปี 2550 จัดทำฐานข้อมูลทางวิชาการของนักวิจัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ที่เผยแพร่ ในฐานข้อมูลสากล โดยรวบรวมผลงานทางวิชาการที่เผยแพร่ใน ฐานข้อมูล 7 ฐานข้อมูล - ตอบสนองการเป็นมหาวิทยาลัยวิจัย - สนับสนุนการเป็นศูนย์บริการข้อมูลแก่นักวิจัยมหาวิทยาลัย เชียงใหม่ (Researchers’ Service Center) • ปี 2554 จัดทำฐานข้อมูลขึ้นมาใหม่ โดยใช้ชื่อคลังผลงานวิจัยมหาวิทยาลัย เชียงใหม่ (CMU Scholarly Research Report Database) โดยรวบรวมผลงานทางวิชาการที่เผยแพร่ในฐานข้อมูล Scopus - สนับสนุนโครงการพัฒนามหาวิทยาลัยแห่งชาติ - ปรับปรุงฐานข้อมูลเดิมเพื่อพัฒนาการให้บริการ
วัตถุประสงค์ • เพื่อรวบรวมข้อมูลผลงานวิจัยของนักวิจัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ที่ตีพิมพ์ในวารสารนานาชาติ • เพื่อใช้ประโยชน์ในการตรวจประเมินคุณภาพและการจัด อันดับมหาวิทยาลัยในประเทศไทย • เพื่อเป็นการกระตุ้นให้นักวิจัยมีการทำผลงานวิจัยในระดับ นานาชาติเพิ่มขึ้น
ขอบเขต • รวบรวมผลงานวิชาการของนักวิจัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่เผยแพร่ในฐานข้อมูล Scopus (และกำลังเตรียมการขยายขอบเขตไปยังฐานข้อมูลอื่นๆ) • มีข้อมูลตั้งแต่ปี 2001-ปัจจุบันจำนวน 5,750 รายการ • ให้ข้อมูลบรรณานุกรม สาระสังเขป • ลิงค์ไปยัง Scopus เพื่อดาว์นโหลดเอกสารฉบับเต็ม • มีการปรับปรุงข้อมูลทุกเดือน
ขั้นตอนการดำเนินงาน • ศึกษารายละเอียดจากฐานข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง • กำหนดความต้องการ รูปแบบ และการแสดงผล • ออกแบบและดำเนินการจัดทำฐานข้อมูล • สืบค้นข้อมูลจากฐานข้อมูล Scopus • นำข้อมูลที่ได้เข้าสู่คลังผลงานวิจัยฯ • ตรวจสอบความถูกต้องและทดลองใช้งาน • ประชาสัมพันธ์และให้บริการบนเว็บไซต์ • ปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันทุกเดือน
ประโยชน์ที่ได้รับจากการใช้ฐานข้อมูลประโยชน์ที่ได้รับจากการใช้ฐานข้อมูล • ใช้ตรวจสอบจำนวนผลงานของอาจารย์ นักวิจัยของ มหาวิทยาลัย /คณะ/ภาควิชา/สถาบันของ มช. • ทราบจำนวนการได้รับการอ้างอิงของแต่ละบทความ • ทราบค่าดัชนีผลกระทบการอ้างอิงของวารสาร(SJR) และค่า h-Indexในฐานข้อมูล Scopus • นำข้อมูลออกไปใช้งานได้ทาง email, RSS Feed, Print.
รูปแบบการสืบค้น • การไล่เรียงรายชื่อ (Browse) - ปีพิมพ์ และ รายชื่อหน่วยงาน • การใช้คำสืบค้น (Search) - ชื่อหน่วยงาน ชื่อผลงาน ชื่อวารสาร คำสำคัญ ชื่อผู้เขียนผลงาน และชื่อผู้รับผิดชอบหลัก
การแสดงผลการสืบค้น • รายละเอียดบรรณานุกรม และสาระสังเขป • จำนวนการได้รับการอ้างอิง (Cited by) • ค่าค่าดัชนีผลกระทบการอ้างอิงของวารสาร (Scimago Journal Rank: SJR) • ค่า h-Index • ลิงค์ไปยัง Scopus เพื่อดาว์นโหลดเอกสารฉบับเต็ม • จำกัดผลการสืบค้น จำแนกตามปีพิมพ์ ชื่อผู้เขียนผลงาน และประเภทเอกสาร
การแสดงผลในรูปกราฟ แสดงผลทั้งหมดในรูปกราฟจำแนกตาม • ปีพิมพ์ • หน่วยงานที่สังกัด
ข้อเสนอแนะ • เพิ่มการแสดงผลสืบค้นโดยจำแนกชื่อเรื่องตามสาขาวิชา • เพิ่มการรายงานผลในรูปแบบกราฟ โดยจำแนกตามสาขาวิชา • รวบรวมผลงานวิจัยของนักวิจัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ที่ เผยแพร่ในศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารภาษาไทย (TCI) เพื่อเพิ่มผลงานวิจัยในกลุ่มสาขาสังคมศาสตร์และ มนุษยศาสตร์