1 / 12

แผนแม่บทด้านการส่งเสริมความเสมอภาคระหว่างหญิงชาย กรมส่งเสริมสหกรณ์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

แผนแม่บทด้านการส่งเสริมความเสมอภาคระหว่างหญิงชาย กรมส่งเสริมสหกรณ์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. ระยะเวลา 5 ปี (ระหว่างปี 2550-2554). หลักการและเหตุผล. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาตรา 30 บุคคลย่อมเสมอภาคกันในกฎหมายและได้รับความคุ้มครองตาม

verlee
Download Presentation

แผนแม่บทด้านการส่งเสริมความเสมอภาคระหว่างหญิงชาย กรมส่งเสริมสหกรณ์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แผนแม่บทด้านการส่งเสริมความเสมอภาคระหว่างหญิงชายกรมส่งเสริมสหกรณ์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ระยะเวลา 5 ปี (ระหว่างปี 2550-2554)

  2. หลักการและเหตุผล • รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาตรา 30 บุคคลย่อมเสมอภาคกันในกฎหมายและได้รับความคุ้มครองตาม กฎหมายเท่าเทียมกัน ชายและหญิงมีสิทธิเท่าเทียมกัน มาตรา 80 รัฐต้องส่งเสริมความเสมอภาคของหญิงชาย • คณะรัฐมนตรีได้มีมติ เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2544 กำหนดให้มี CGEO (Chief Gender Equality Officer) ในทุกกระทรวง ทบวง กรม โดยมอบหมายผู้บริหารระดับรองปลัดกระทรวงหรือรองอธิบดีขึ้นไป จำนวน 1 คน ปฏิบัติหน้าที่เป็นผู้บริหารด้านการเสริมสร้างความเสมอภาคหญิงชายในหน่วยงาน และกำหนดให้มีการจัดตั้งหน่วยงานระดับสำนัก/กอง ทำหน้าที่เป็น Focal Point หรือศูนย์ประสานงานด้านความเสมอภาคระหว่างหญิงชายประจำกระทรวง ทบวง กรม

  3. วิสัยทัศน์ “ บุคลากรของกรมส่งเสริมสหกรณ์ปฏิบัติหน้าที่ โดยตระหนักถึงบทบาทหญิงชาย ”

  4. เป้าหมาย 1. การแยกเพศในฐานข้อมูลทุกฐาน เช่น บุคลากรของกรมฯ การแต่งตั้งคณะกรรมการ/ คณะทำงาน บุคลากรของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร และผู้รับบริการ 2. การพัฒนาศักยภาพของข้าราชการเกี่ยวกับเรื่องมุมมองหญิงชาย และการบูรณาการ บทบาทหญิงชายอย่างต่อเนื่องและทั่วถึง 3. การสร้างการตระหนักรับรู้และเผยแพร่เกี่ยวกับบทบาทหญิงชาย ความเสมอภาคทั้งในและ นอกราชการอย่างสม่ำเสมอ 4. การจัดสภาพแวดล้อมที่คำนึงถึงมิติหญิงชายและเอื้อต่อประสิทธิภาพของการทำงานของ หญิงและชายอย่างสูงสุด 5. องค์คณะที่ส่วนราชการตั้งขึ้นทำหน้าที่ต่าง ๆ ในกระบวนการบริหารงานบุคคลที่มี สัดส่วนของหญิงชายที่เหมาะสม หรือเพศใดเพศหนึ่งไม่เกิน 2 ใน 3 หรือสะท้อนสัดส่วน ของกลุ่มข้าราชการหญิงชายที่เกี่ยวข้อง 6. การจัดสรรงบประมาณที่เพียงพอเพื่อการเสริมสร้างความเสมอภาคระหว่างหญิงชาย

  5. กลยุทธ์หลัก : บูรณาการมิติหญิงชายในภารกิจหลักของกรมส่งเสริมสหกรณ์ เพื่อลงสู่กลุ่มเป้าหมาย (สหกรณ์ / กลุ่มเกษตรกร / กลุ่มอาชีพ) ในด้านต่างๆ • แผนงานการจัดทำข้อมูลและสารสนเทศจำแนกเพศ • แผนงานพัฒนาด้านการส่งเสริมความเสมอภาคระหว่างหญิงชาย • แผนงานการมีส่วนร่วมทางเศรษฐกิจ/อาชีพ/การทำงาน • แผนงานการมีส่วนร่วมการตัดสินใจ/การบริหาร/การเป็นผู้นำในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร

  6. กลยุทธ์รอง : บูรณาการมิติหญิงชายในการสร้างความเสมอภาคระหว่างหญิงชายในกรมส่งเสริมสหกรณ์ • แผนงานด้านข้อมูล และองค์ความรู้เกี่ยวกับบทบาทหญิงชาย (การจัดเก็บข้อมูลจำแนกเพศ) • แผนงานด้านการพัฒนาข้าราชการ • แผนงานด้านการสร้างเครือข่าย • แผนงานด้านการพัฒนากลไกในการทำงาน (กฎ ระเบียบและข้อปฏิบัติต่างๆ) • แผนงานขจัดความรุนแรงในครอบครัว/ชุมชน/ที่ทำงาน

  7. กลยุทธ์หลัก : บูรณาการมิติหญิงชายในภารกิจหลักของกรมส่งเสริมสหกรณ์เพื่อลงสู่กลุ่มเป้าหมาย (สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร กลุ่มอาชีพ) ในด้านต่างๆ

  8. กลยุทธ์รอง : บูรณาการมิติหญิงชายในการสร้างความเสมอภาคระหว่างหญิงชายในกรมส่งเสริมสหกรณ์

  9. http://webhost.cpd.go.th/develop2/gender.html

More Related