580 likes | 889 Views
ACCESS. การใช้โปรแกรมฐานข้อมูล. 2007. อ. พงษ์ศิริ ช่วยชูหนู. 100. คะแนนเต็ม. 20 สอบกลางภาค. 30 สอบปลายภาค. 30 คะแนนเก็บ. 20 เข้าเรียน + หนังสือ. มี.ค. 2 9 16 23 30 เม.ย. 6 13 20 27 พ .ค. 4 11. สอบกลางภาค หยุด หยุด สอบปลายภาค. 0 1.
E N D
ACCESS การใช้โปรแกรมฐานข้อมูล 2007 อ.พงษ์ศิริ ช่วยชูหนู
100 คะแนนเต็ม
20 สอบกลางภาค 30 สอบปลายภาค 30 คะแนนเก็บ 20 เข้าเรียน+หนังสือ
มี.ค.2 9 16 23 30 เม.ย.6 13 20 27 พ.ค.4 11 สอบกลางภาค หยุด หยุด สอบปลายภาค
0 1 บิท(Bit) หน่วยข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด จัดเก็บแบบเลขฐานสอง
1000011=C ไบท์(Byte)เกิดจากการนำบิทมารวมกันเป็นตัวอักขระ
สมชาย เขตข้อมูล(Field) เอาตัวอักขระหลายๆตัว มารวมกันแล้วได้ความหมายสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
สมชาย มีสุข ปวช. คอมพิวเตอร์ ระเบียน(Record) เอาเขตข้อมูลมารวมกันแล้วได้ข้อมูลเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
แฟ้มข้อมูล(File) นำข้อมูลหลายๆ ระเบียนที่เป็นเรื่องเดียวกันมารวมกัน
ฐานข้อมูล(Database) นำข้อมูลหลายๆ แฟ้มมารวมกัน
ระบบฐานข้อมูล? การจัดการฐานข้อมูลอย่างเป็นระบบ เพื่อลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล และคำนึงถึงความอิสระในการใช้ข้อมูลร่วมกันระหว่างงานหลายๆงาน
แบบลำดับชั้น (Hierarchical DB) แบบเครือข่าย (Network DB) แบบสัมพันธ์ (Relational DB)
แบบลำดับชั้น (Hierarchical DB) โครงสร้างรูปแบบต้นไม้ จัดลำดับข้อมูลจากบนลงล่าง
แบบเครือข่าย (Network DB) ทุกๆระเบียนมีความสัมพันธ์กัน
แบบสัมพันธ์ (Relational DB) จัดเก็บข้อมูลในรูปแบบของตาราง
เขตข้อมูล(Field) ระเบียน(Record) ตารางข้อมูล(Table) การนำข้อมูลเรื่องเดียวกันหลายๆ ระเบียนมารวมกัน
แอททริบิวต์(Attribute) ทูเพิล(Tuple) เอนทิตี้(Entity)
คีย์หลัก (Primary Key) ไว้สำหรับเรียงลำดับและแยกข้อมูลออกจากกัน โดยจะต้องไม่เป็นค่าว่าง และไม่ซ้ำกัน
คีย์รอง (Secondary Key) ใน Access คือ index ไว้สำหรับค้นหาข้อมูลอย่างรวดเร็ว ฟิลด์ที่กำหนดเป็น index จะยอมให้ข้อมูลซ้ำกันได้
คีย์นอก (Foreign Key) ไว้สำหรับเชื่อม Table ที่เกี่ยวข้องหรือมีความสัมพันธ์กัน โดยเชื่อมกับ PK
ตารางนักศึกษา ตารางสาขา
คีย์ใกล้เคียง (Candidate Key) คีย์ที่มีคุณสมบัติเหมือนคีย์หลัก สามารถนำมาใช้แทนคีย์หลักได้
คีย์รวม (Compound Key) การรวมฟิลด์เพื่อให้มีคุณสมบัติเหมือนคีย์หลัก และสามารถนำมาใช้แทนคีย์หลักได้
ความสัมพันธ์ (Relationships) 1:1 One to One 1:M One to Many M:N Many to Many
1:1One to One ตารางหนังสือ ตารางผู้เช่า
1:MOne to Many ตารางหนังสือ ตารางผู้เช่า
M:NMany to Many ตารางหนังสือ ตารางผู้เช่า
ตารางรายวิชา ตารางนักศึกษา
การนอร์มัลไลเซชัน (Normalization) ลดความซ้ำซ้อน เปลี่ยนแปลงข้อมูลได้ง่าย ลดปัญหาความไม่ถูกต้อง
กฎข้อที่ 1(First Normalized Form) จะต้องไม่มีค่าแอททริบิวต์ปรากฏมากกว่า 1 ค่าในตาราง ถ้ามีให้นำค่าที่เกินมาเพิ่มเป็นอีก 1 เรคอร์ด
กฎข้อที่ 2(Second Normalized Form) ตรวจสอบแอททริบิวต์ที่ไม่ใช่คีย์ตัวใด ขึ้นอยู่ส่วนใดส่วนหนึ่งของคีย์หลัก จะต้องขึ้นกับคีย์หลักอย่างสมบูรณ์
กฎข้อที่ 3(Third Normalized Form) ตรวจสอบแอททริบิวต์ในตารางอีกครั้ง ถ้ายังอีกแอททริบิวต์ที่ไม่ได้ขึ้นกับคียหลักทำข้อที่ 2 อีกครั้ง