1 / 10

สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 ราชบุรี

โครงการพัฒนาความร่วมมือ ของภาคีเครือข่าย ในเขตตรวจราชการที่ 6 และ 7. สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 ราชบุรี. ทีม 1 ยอดชาย กลมศิลา เปรมมาส กันตะโอภาส ประไพ เทียนศาสตร์ สมชาย ศุภผล โสภาพรรณ จิรนิรัติศัย. ทีม 2 นิคม กสิวิทย์อำนวย ศุภลักษณ์ แย้มสกุล

vienna
Download Presentation

สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 ราชบุรี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการพัฒนาความร่วมมือโครงการพัฒนาความร่วมมือ ของภาคีเครือข่าย ในเขตตรวจราชการที่ 6 และ 7 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 ราชบุรี

  2. ทีม 1 ยอดชาย กลมศิลา เปรมมาส กันตะโอภาส ประไพ เทียนศาสตร์ สมชาย ศุภผล โสภาพรรณ จิรนิรัติศัย ทีม 2 นิคม กสิวิทย์อำนวย ศุภลักษณ์ แย้มสกุล ดุษณี บุญพิทักษ์สกุล จินตนา แววสวัสดิ์ เพ็ญรุ่ง ฉัตรไชยรัตน์ รายชื่อแกนนำคณะทำงาน

  3. สภาพปัญหา

  4. หลักการและเหตุผล • 6 โรค ได้แก่ วัณโรค เอดส์ ไข้เลือดออก อาหารเป็นพิษ อัมพฤกษ์/อัมพาต ไข้หวัดนก/ไข้หวัดใหญ่ • 2 พฤติกรรม ได้แก่ลดละเลิกสูบบุหรี่และพฤติกรรมทางเพศ • เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของเขตฯ ที่ 6 และ 7 จะดำเนินการแก้ไขให้สำเร็จได้ ต้องเกิดจากการขับเคลื่อนอย่างเข้มแข็งของชุมชนและท้องถิ่น ภายใต้การบังคับใช้ ก.ม. รวมทั้งต้องอาศัยความเชื่อมโยงกับเครือข่ายสื่อมวลชนท้องถิ่น • การพัฒนาภาคีเครือข่ายด้าน สธ. ถือเป็นบทบาทหน้าที่ของหน่วยงาน สธ. เพื่อมุ่งสู่ Health Thailand

  5. กรอบแนวคิด ปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ การพัฒนาความร่วมมือของภาคีเครือข่ายในเขตตรวจราชการที่ 6 และ 7 เพื่อมาตรฐานการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ จัดเวทีเสวนา เพื่อเข้าถึง เข้าใจ ภาคีเครือข่าย จัดกระบวนการชุมชนนักปฏิบัติ เพื่อค้นหา Best Practice กระบวนการจัดทำแผนของพื้นที่ การติดตาม กำกับ สนับสนุนทางวิชาการ อย่างต่อเนื่อง

  6. ขั้นตอนการดำเนินงาน เตรียมการ,สร้างความเข้าใจภายใน,หาข้อมูลความสำเร็จ จัดกระบวนการ CoPs 8 เวที(ตำบล) PDAC จัดเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Sharing) เขตประสบการณ์การทำงานสำรวจความต้องการด้าน สาธารณสุขฯ ของ อปท. วิเคราะห์การทำงานของ อปท. ,สำรวจแผนฯที่เกี่ยวข้อง ปี 2550 สรุป KA, Best Practice จัดทำแผน ดำเนินงานด้าน สธ. ปี 2551 ประชุมนำเสนอแผนฯ ผล KA ในThank you Party ของสื่อมวลชนและเครือข่าย ติดตามแผน/โครงการ ประเมินผล สรุป คัดเลือกเพื่อขยายผล ปี 2552 การติดตาม กำกับสนับสนุนทางวิชาการอย่างต่อเนื่อง

  7. การดำเนินงานและระยะเวลาการดำเนินงานและระยะเวลา

  8. ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ • ร้อยละของเครือข่ายที่เข้าร่วมเสวนา • จำนวน KA ของการจัดกิจกรรม • จำนวนแผนงานด้านสาธารณสุขปี 2551 ที่เกิดจากการจัดการความรู้

  9. ความเสี่ยง และ แผนการแก้ไข

  10. ขอขอบพระคุณทุกท่าน ที่กรุณาให้ข้อชี้แนะ ขอให้ความสำเร็จนี้เป็นของขวัญจากก้อนดิน...ถวายในหลวงของเรา

More Related