1 / 52

สรุปผลการตรวจราชการ คณะที่ 2 การพัฒนาและจัดระบบบริการที่มีคุณภาพมาตรฐานคลอบคลุมเข้าถึงบริการได้

2.1 ผลการดำเนินงาน Service Plan 2.2 การจัดบริการร่วม 2.3 การจัดบริการเฉพาะ. สรุปผลการตรวจราชการ คณะที่ 2 การพัฒนาและจัดระบบบริการที่มีคุณภาพมาตรฐานคลอบคลุมเข้าถึงบริการได้. จังหวัดอำนาจเจริญ วันที่ 16 - 18 กรกฎาคม 2557. 201 ร้อยละผู้ป่วยโรคหัวใจ กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน STEMI.

Download Presentation

สรุปผลการตรวจราชการ คณะที่ 2 การพัฒนาและจัดระบบบริการที่มีคุณภาพมาตรฐานคลอบคลุมเข้าถึงบริการได้

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 2.1 ผลการดำเนินงาน Service Plan 2.2 การจัดบริการร่วม 2.3 การจัดบริการเฉพาะ สรุปผลการตรวจราชการคณะที่ 2 การพัฒนาและจัดระบบบริการที่มีคุณภาพมาตรฐานคลอบคลุมเข้าถึงบริการได้ จังหวัดอำนาจเจริญ วันที่ 16-18 กรกฎาคม 2557

  2. 201 ร้อยละผู้ป่วยโรคหัวใจ กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันSTEMI

  3. 201 ร้อยละผู้ป่วยโรคหัวใจ กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันSTEMI ข้อเสนอแนะ • - ข้อมูลผู้ป่วยจากโรงพยาบาลอำนาจเจริญเท่านั้น • ขาดข้อมูลที่ส่งต่อไปโรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์เพื่อให้ยาละลายลิ่มเลือด และทำ Primary PCI • - ทบทวนกระบวนการการจัดเก็บข้อมูล ในผู้ป่วย STEMI • - ควรให้ โรงพยาบาลอำนาจเจริญ (อายุรแพทย์ จบใหม่ 3 คน) เป็นแกนนำในการทำการรักษา STEMI และผลักดันให้ รพช. สามารถให้ยาละลายลิ่มเลือด

  4. 202 ผลการพัฒนาระบบบริการโรคมะเร็ง มะเร็งปากมดลูก มะเร็งปากมดลูก มะเร็งปากมดลูก เป้าหมาย 77,066 ผลงานที่คัดกรองได้ 59,033 คิดเป็นร้อยละ 76.60 พบความผิดปกติ สะสม 5 ปี (ปี 2553-2557) 449 รายคิดเป็นร้อยละ 0.79 มะเร็งเต้านม เป้าหมาย 93,406 ผลงานที่คัดกรองได้ 75,412 คิดเป็นร้อยละ 80.73 พบความผิดปกติด้วยตนเอง 57 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.08 ส่งต่อเจ้าหน้าที่ 57 ราย พบผิดปกติโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข 52 ราย คิดเป็นร้อยละ 91.22 พบเป็นมะเร็งเต้านมระยะที่ 1 และ 2 จำนวน 5 ราย มะเร็งเต้านม

  5. 202 ผลการพัฒนาระบบบริการโรคมะเร็ง ต่อ มะเร็งตับและท่อน้ำดี - มะเร็งตับและท่อน้ำดี ประชากรกลุ่มเสี่ยงทั้งสิ้น 148,920 ราย คัดกรองด้วยวาจา 99,075 ราย คิดเป็นร้อยละ 66.53 พบกลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองด้วยวาจา 6,637 ราย คิดเป็นร้อยละ 6.70 ได้รับการอัลตร้าซาวด์ 4,866 ราย คิดเป็นร้อยละ 73.32 พบกลุ่มสงสัย (พบ dilate duct และหรือ liver mass)จำนวน 70 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.44 ได้รับการวินิจฉัย CHCA 4 ราย

  6. 202 ผลการพัฒนาระบบบริการโรคมะเร็ง ต่อ ข้อเสนอแนะ - อำเภอลืออำนาจและอำเภอเสนางคนิคม มีผลการคัดกรอง ด้วยวาจาพบว่ามีความเสี่ยงสูงจึงเป็นกลุ่มเป้าหมาย ในการทำ Primary Prevention - ประชาสัมพันธ์มีการอบรมหลักสูตรการทำทะเบียนมะเร็งขั้นพื้นฐาน วันที่ 4-8 สิงหาคม 2557

  7. 2. พัฒนาและจัดระบบบริการที่มีคุณภาพมาตรฐาน ครอบคลุมประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้(ต่อ) 2.1 ผลการดำเนินงานตาม Service Plan

  8. 204 ลดอัตราการเสียชีวิตในโรงพยาบาลของทารกแรกเกิด น้ำหนักต่ำ 2,500กรัม - ข้อมูลอัตราตายทารกแรกเกิด ที่มีน้ำหนัก<2,500 กรัม โรงพยาบาลมุกดาหาร

  9. 204 ลดอัตราการเสียชีวิตในโรงพยาบาลของทารกแรกเกิด น้ำหนักต่ำ 2,500กรัม ข้อเสนอแนะ • อัตราการเสียชีวิตลดลงจาก 1.56 เป็น 1.48 ไม่ถึง 5% แต่ว่าเมื่อมองในรายละเอียดภาพรวม พบว่าเมื่อจำแนกตามน้ำหนัก จังหวัดอำนาจเจริญ ทำได้ในเกณฑ์มาตรฐาน • ขอโควต้าการเรียนต่อพยาบาลเฉพาะทางเพื่อรองรับ การขยาย NICU ในโรงพยาบาลอำนาจเจริญ • เสนอพิจารณาเรื่องช่องทางด่วน NICU โรงพยาบาลอำนาจเจริญ กับ NICU โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ ใน Case ฉุกเฉิน

  10. 205 ร้อยละขอบริการANC คุณภาพ (ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70) 224 ร้อยละของ WCC คุณภาพ (ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70) ข้อเสนอแนะ: ควรเน้นการพัฒนาคุณภาพงานบริการอนามัยแม่และเด็กให้มีการดำเนินงานที่ต่อเนื่อง ตามมาตรฐานโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัวระดับทอง และ ANC WCC คุณภาพ

  11. 206 ร้อยละของห้องคลอดคุณภาพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70

  12. 206 ร้อยละของห้องคลอดคุณภาพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 • มีการประเมินห้องคลอดมาตรฐาน เป็น โรงพยาบาลอำนาจเจริญ เป็น โรงพยาบาลผู้คลอดความเสี่ยงสูง และ รพช. ได้แก่ โรงพยาบาลเสนางคนิคม , โรงพยาบาลปทุมราช , โรงพยาบาลชานุมาน , โรงพยาบาลพนา , โรงพยาบาลลืออำนาจ และ โรงพยาบาลหัวตะพาน เป็น โรงพยาบาลสำหรับผู้คลอดความเสี่ยงต่ำ • ห้องคลอดขาดเครื่องมือ BP Monitor สปสช.มาประเมินขาดเครื่อง Defibrilltor , EKG แต่สามารถยืมได้ • มีมารดาตาย 2 ราย ทั้ง2 รายนี้เป็นcase ที่ยากต่อการตัดสินใจ ถึงแม้จะอยู่ในมือสูติแพทย์ก็ตาม • จังหวัดมีการทบทวนแนวทางและป้องกันการตาย ใน คณะกรรมการงานอนามัยแม่และเด็ก (MCH board) และมีการช่วยเหลือผู้เสียชีวิตเรียบร้อย • ควรมีการทบทวนแนวทางและการใช้เกณฑ์การคลอดมาตรฐาน ในการดูแลผู้คลอดในภาพรวมจังหวัดอำนาจเจริญ

  13. 207 ร้อยละของศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychoscocial Clinic)

  14. 207 ร้อยละของศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychoscocial Clinic) (ต่อ) • ควรมีการดำเนินการร่วมกับหน่วยงานต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งหน่วยงานนอกระบบสาธารณสุขและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อร่วมเป็นเครือข่ายในการดูแลช่วยเหลืออย่างต่อเนื่อง เมื่อผู้ป่วยอยู่ในชุมชน โดยบูรณาการเข้าไปในระบบจัดการสุขภาพอำเภอ (DHS) ข้อเสนอแนะ

  15. 208.ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการ (มากกว่าร้อยละ 31)

  16. 208.ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการ (มากกว่าร้อยละ 31) ปัจจัยความสำเร็จ • 3.1 มีการให้ความรู้ในการคัดกรองกับผู้ปฏิบัติ • 3.2 มีการคัดกรองผู้ป่วยในกลุ่มเสี่ยงอย่างสม่ำเสมอ • 3.3 มีการทบทวน ทำความเข้าใจในการายงานข้อมูลอย่าง สม่ำเสมอ - กำหนดให้การคัดกรองโรคซึมเศร้าเป็นแนวทางปฏิบัติในกลุ่มเสี่ยงทุกราย และทุกครั้งที่ให้บริการ ข้อเสนอแนะ

  17. 209 ส่งต่อผู้นอกเขตบริการ (ลดลง 50)

  18. 209 ส่งต่อผู้นอกเขตบริการ (ลดลง 50)ต่อ • โรคที่มีการส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตบริการ มากที่สุด 5 อันดับแรก ได้แก่ 1. มะเร็งท่อน้ำดีในตับ 2. Myasthenia Gravis 3. แผลเป็นที่กระดูก Corneal scar and opacity 4. จอประสาทตาหลุดออกชนิดมีรอยฉีก 5. มะเร็งตับ • สาเหตุที่ต้องส่งต่อเนื่องจาก • - เพื่อการตรวจวินิจฉัย • - เกินศักยภาพของโรงพยาบาล • - ญาติผู้ป่วยต้องการ

  19. 210 ร้อยละของอำเภอที่มี District Health System ระดับ 4 อำเภอเมืองอำนาจเจริญ , อำเภอหัวตะพาน , อำเภอลืออำนาจ , อำเภอปทุมราชวงศา , อำเภอชานุมาน ระดับ 5 อำเภอพนา , อำเภอเสนางคนิคม

  20. 211ร้อยละของรพ.สต/ศสม.ที่ให้บริการสุขภาพช่องปากคุณภาพ( ร้อยละ45 ) • เดิม 39 แห่ง คิดเป็น ร้อยละ 49 • 7 แห่ง โดยกลยุทธ์ให้ทันตบุคลากรจาก รพ. หมุนเวียนใน รพสต และได้เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุขจบใหม่มาเพิ่ม • ปัจจุบัน 46 แห่ง คิดเป็น ร้อยละ 58 ผ่านเกณฑ์ • ข้อชื่นชม อ.พนา มีการให้บริการครอบคลุมร้อยละ100

  21. 213 การพัฒนาระบบบริการโรคตา 1. ค้นหา blinding cataract และผ่าตัดภายในเวลากำหนด 2. คัดกรองเบาหวานเข้าจอประสาทตา 3. ผู้ป่วย Diabetic retinopathy ได้รับการรักษาครบวงจร

  22. 213 การพัฒนาระบบบริการโรคตา(ต่อ) 1. ค้นหา blinding cataract และผ่าตัดภายในเวลากำหนด  กรณี VA <20/400 ทั้งสองข้าง นัดผ่าตัดไม่เกิน 30 วัน

  23. 213 การพัฒนาระบบบริการโรคตา(ต่อ) 2.การคัดกรองต้อกระจก

  24. 213 การพัฒนาระบบบริการโรคตา(ต่อ) การดำเนินงานด้านต้อกระจก 1. ลดระยะรอคอยการผ่าตัด • เพิ่มวัน/ห้องผ่าตัด • โครงการผ่าตัดต้อกระจก ที่รพ.หัวตะพาน(รพ.บ้านแพ้ว) และ รพ.พนา(สภากาชาดไทย) 2. ลด blindnessในผู้ป่วย blinding cataract • โครงการการตรวจคัดกรองต้อกระจกทั้งจังหวัด • Guide line การจัดการ blinding cataract ทั้งจังหวัด

  25. 213 การพัฒนาระบบบริการโรคตา(ต่อ) 3.การคัดกรองเบาหวานเข้าจอประสาทตา

  26. 214 ร้อยละของคลินิก NCD คุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70) ที่มา : ข้อมูลรับการตรวจราชการกรณีปกติ รอบที่ 2 ปี 2557สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ

  27. 214 ร้อยละของคลินิก NCD คุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70) (ต่อ) ผลการดำเนินงาน • ทุกโรงพยาบาลประเมินตัวเองผ่านระบบ NCD ออนไลน์ • การมีนโยบายขับเคลื่อนงาน คลินิก NCD คุณภาพจาก สสจ. • พัฒนาศักยภาพพยาบาลผู้จัดการรายกรณี เบาหวาน ความดันโลหิตสูง(Case Manager:CM) ครบทุกโรงพยาบาล (มีCM 9 คน จาก 7รพ.) ปี 57 มีการอบรมเพิ่ม 3 คน

  28. 214 ร้อยละของคลินิก NCD คุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70) (ต่อ) โอกาสพัฒนา ผลจากการประเมินรับรองคลินิก NCD คุณภาพ พบว่าในเครือข่ายบริการระดับอำเภอยังมีโอกาสพัฒนา ดังนี้ 1. โรงพยาบาลแม่ข่ายที่มีขนาดใหญ่กับลูกข่าย(รพสต.) ยังมีการเชื่อมโยงข้อมูลการดูแลผู้ป่วยน้อย 2. ควรสนับสนุนเจ้าหน้าที่ IT ให้มีส่วนร่วมในการจัดการข้อมูลผู้ป่วยในหน่วยบริการ

  29. 215 ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี

  30. 216 ร้อยละผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงควบคุม HTได้ดี(ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50)

  31. 217 Stroke อัตราผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันที่ได้รับการฉีดยาละลายลิ่มเลือดทางหลอดเลือดดำประจำปีงบประมาณ 2556-2557

  32. 217 Stroke ข้อเสนอแนะ • ประชากรจังหวัดอำนาจเจริญ ยังเข้าถึงบริการในระดับที่ต่ำ • Stroke Unit มีการส่งพยาบาลไปอบรม เรื่องหลอดเลือดสมองแล้ว แต่ยังจัดตั้งไม่ได้ เนื่องจากขาดอายุรแพทย์และสถานที่ ซึ่งทางโรงพยาบาลอำนาจเจริญ มีแผนดำเนินการแล้ว • เร่งให้มีการสื่อสารกับประชากรจังหวัดอำนาจเจริญ ให้มี Stroke awareness • การจัดสรรงบประมาณ เรื่อง Stroke ถูกจัดสรรในงบNCDรวม ทำให้ขาดงบประมาณในการ ประชาสัมพันธ์

  33. ตัวชี้วัด : ร้อยละของอำเภอที่มีทีม SRRT คุณภาพ เป้าหมาย ผ่านเกณฑ์ SRRT คุณภาพร้อยละ 80 ทีม SRRTอำเภอทั้งหมด 7 ทีม ผ่านการรับรองจำนวน 7 อำเภอ ร้อยละ 100 ผ่านมาตรฐานระดับดี : อ.เมือง อ.ปทุมราชวงศา อ.พนา อ.เสนางคนิคม อ.หัวตะพาน โอกาสในการพัฒนาทีม SRRTอำเภอที่ผ่านระดับพื้นฐานสู่ระดับดี - ทีม SRRT ระดับอำเภอ ควร Set Priority โรคที่มีความสำคัญสูง จัดทำแผนปฏิบัติการกรณีเร่งด่วนที่จะใช้ฝึกซ้อมในปีงบประมาณต่อไป โดย สสจ. เป็นพี่เลี้ยงให้คำปรึกษาติดตามการจัดทำแผนให้เป็นแนวทางเดียวกันทีมSRRTที่ผ่านระดับดีและให้ผู้บริหารระดับจังหวัด /อำเภออนุมัติแผนกรณีเร่งด่วน

  34. ผลการจัดบริการร่วม แพทย์ในเครือข่ายนอกสาขาที่ขาดมาช่วย 1.อายุรกรรม - รพ.50 พรรษา ดูแลผู้ป่วยใน ทุกวันจันทร์ถึงวันศุกร์ 2. อายุรแพทย์โรคไต - รพ.50 พรรษา ทุกวันจันทร์ และวันอังคาร 3. จิตเวช - รพ.พระศรีมหาโพธิ์ ออกตรวจเดือนละ 1 วัน 4. โรคหัวใจเด็ก - รพ.สรรพสิทธิประสงค์ ทุกวันพุธที่ 1 ของเดือน

  35. ผลการจัดบริการร่วม • จักษุแพทย์ ออกรักษาโดยใช้เลเซอร์รักษาจอประสาทตา ที่ รพ.ลืออำนาจ • จัดแพทย์ออกตรวจที่ รพ.สต.

  36. ผลการจัดบริการร่วม • งานจ่ายกลาง ให้บริการอบแก๊ส (เครื่องมือยาง) แก่ รพช. ในจังหวัด /รพ.สต CUP เมือง และ • Lab ให้บริการรับการตรวจสิ่งส่งตรวจ • จาก รพช. ในจังหวัด/รพ.สต (CUP เมือง)

  37. 225 ร้อยละศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ ข้อเสนอแนะ:- พัฒนาศักยภาพ ครูพี่เลี้ยง ในการคัดกรองพัฒนาการเด็ก ด้วยอนามัย 55 เพื่อเฝ้าระวัง / ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเบื้องต้น - สนับสนุนครอบครัว และชุมชนในการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ด้วยหนังสือนิทาน กิจกรรม กิน กอด เล่น เล่า

  38. 2. พัฒนาและจัดระบบบริการที่มีคุณภาพมาตรฐาน ครอบคลุมประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้(ต่อ) 2.3 ผลการจัดบริการเฉพาะ

  39. 227.ร้อยละของอำเภอที่มีทีม MCATT คุณภาพ

  40. 227.ร้อยละของอำเภอที่มีทีม MCATT คุณภาพ (ต่อ) ปัจจัยปัจจัยความสำเร็จ • มีนโยบายการดำเนินงานและตัวชี้วัดชัดเจน • บุคลากรได้รับการชี้แจงแนวทางการปฏิบัติงานและได้รับการพัฒนาศักยภาพ • มีระบบแผนงานการนิเทศติดตามภายในจังหวัดและเขตบริการสุขภาพที่ 10 มีความต่อเนื่อง • มีการบูรณาการการซ้อมแผนในอำเภอร่วมกับทีมฉุกเฉินในระดับอำเภอ • ให้ความสำคัญกับการซ้อมแผนแบบบูรณาการอย่างสม่ำเสมอ ข้อเสนอแนะ

  41. ..ตัวชี้วัด 229 ร้อยละของห้องปฏิบัติการด้านการแพทย์และสาธารณสุขมีคุณภาพและมาตรฐานการบริการ (100) ผลการดำเนินการ 1.มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนา 2.มีแผนงานโครงการและดำเนินการตามแผน ดังนี้ 2.1ด้านห้องปฏิบัติการเทคนิคการแพทย์ • เป้าหมาย 7 แห่ง ตรวจประเมิน 6แห่ง ร้อยละ85.7 รอตรวจ 1แห่ง • ผ่านการรับรอง 5แห่งร้อยละ71.4 ดังนี้ - ได้รับการรับรองLA= 2 แห่ง ร้อยละ 28.6 (ชานุมาน ลืออำนาจ) - ผ่านมาตรฐานกระทรวง =3แห่ง ร้อยละ 42.8(ปทุมราช หัวตะพาน พนา)

  42. ตัวชี้วัด 229 ร้อยละของห้องปฏิบัติการด้านการแพทย์และสาธารณสุขมีคุณภาพและมาตรฐานการบริการ (100)ต่อ 2.2ด้านการพัฒนาการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการในรพ.สต./ศสม • -เป้าหมาย 77 แห่ง -ประเมินตนเอง 58แห่ง ร้อยละ 75.3 -ประเมินโดยเครือข่ายเทคนิคการแพทย์ 25แห่ง ร้อยละ 32.4 3.ด้านห้องปฏิบัติการรังสีวินิจฉัยเป้าหมาย 7 แห่ง -ตรวจประเมินโดยเครือข่าย 7 แห่ง ร้อยละ 100 -ผ่านเกณฑ์พื้นฐาน 1แห่ง ร้อยละ57.1 -ผ่านเกณฑ์พื้นฐาน 1แห่ง ร้อยละ28.6 -ผ่านเกณฑ์พื้นฐาน 1แห่ง ร้อยละ14.3

  43. ตัวชี้วัด 229 ร้อยละของห้องปฏิบัติการด้านการแพทย์และสาธารณสุขมีคุณภาพและมาตรฐานการบริการ (100) ต่อ • ข้อชื่นชม ความมุ่งมั่นตั้งใจทำงานของเลขาฯทีมเครือข่ายรังสีทำให้งานสำเร็จตามตัวชี้วัด

  44. 230 ดัชนีผู้ป่วยใน(CMI)ของแต่ละระดับสถานบริการสุขภาพตาม Service Plan ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด โรงพยาบาลทั่วไป ( ระดับ S ) ค่า CMI ไม่น้อยกว่า 1.2 โรงพยาบาลชุมชน (ระดับ F1-F2 ) ค่า CMI ไม่น้อยกว่า 0.6

  45. 232. ร้อยละของผู้เสพยาเสพติดที่ผ่านการบำบัดที่ได้รับการติดตามไม่กลับไปเสพซ้ำ

  46. 232. ร้อยละของผู้เสพยาเสพติดที่ผ่านการบำบัดที่ได้รับการติดตามไม่กลับไปเสพซ้ำ ต่อ จุดเด่นศพส.จ เข้มแข็งทุก รพ.ผ่าน HA ยาเสพติด โอกาสพัฒนา - การใช้ service planในงานยาเสพติด

  47. Service plan ยาเสพติด

  48. 233 ร้อยละของข้อร้องเรียนของผู้บริโภคด้านบริการสุขภาพได้รับการแก้ไขภายในระยะเวลาที่กำหนด

  49. 233 ร้อยละของข้อร้องเรียนของผู้บริโภคด้านบริการสุขภาพได้รับการแก้ไขภายในระยะเวลาที่กำหนด (ต่อ) ตารางเปรียบเทียบจำนวนข้อร้องเรียนของผู้บริโภคด้านบริการสุขภาพ ระหว่างปี 2555 -2557

  50. 233 ร้อยละของข้อร้องเรียนของผู้บริโภคด้านบริการสุขภาพได้รับการแก้ไขภายในระยะเวลาที่กำหนด (ต่อ) จุดเด่น • มีคณะกรรมการจัดการข้อร้องเรียนจังหวัดอำนาจเจริญ เพื่อดำเนินการจัดการข้อร้องเรียนได้อย่างรอบคอบและยุติธรรม • มีการพัฒนาการจัดการข้อร้องเรียนด้านระบบบริการสุขภาพให้เป็นระบบและเป็นมาตรฐานเดียวกัน

More Related