280 likes | 447 Views
ASP [# 2]. การเขียนโปรแกรม ASP การประกาศตัวแปร. การเรียกใช้งานหลังจากการเซ็ตค่า Web Server เสร็จ. http://localhost http://( ชื่อเครื่อง) http://127.0.0.1/. การเขียน ASP script. จะขึ้นต้นหรือเปิดด้วย tag โดยใช้เครื่องหมาย <% และลงท้ายหรือปิดด้วย % >
E N D
ASP [# 2] การเขียนโปรแกรม ASP การประกาศตัวแปร
การเรียกใช้งานหลังจากการเซ็ตค่า Web Server เสร็จ • http://localhost • http://(ชื่อเครื่อง) • http://127.0.0.1/
การเขียน ASP script • จะขึ้นต้นหรือเปิดด้วย tag • โดยใช้เครื่องหมาย <% และลงท้ายหรือปิดด้วย %> • ยกตัวอย่างการเขียน ASP script เช่นหากเราต้องการแสดงวัน-เวลาปัจจุบัน ก็จะใช้ ฟังก์ชัน now ก็จะเขียนดังนี้ • วัน-เวลา ขณะนี้คือ <%=now%> • วัน-เวลา ขณะนี้คือ 31/03/2547 13:47:20
การแทรกคำอธิบายใน ASP จะแทรกด้วยสัญลักษณ์ ' comment • เช่น • <%Dim a,b,c ' ประกาศตัวแปรa=1 ' กำหนดค่าตัวแปร ab=2 ' กำหนดค่าตัวแปร bc=3 ' กำหนดค่าตัวแปร ac%> Test2.asp
การจะเขียน ASP script • สิ่งที่ต้องศึกษารูปแบบคำสั่งของภาษาอื่นเพิ่มเติม • ภาษา VBScript • ภาษา JScript • ภาษา HTML <font size=+2 color=green>วัน-เวลา ขณะนี้คือ <%=now%></font>
HTML กับ ASP ASP HTML <% response.write( “<html><body>Hello<hr>" )response.write( “1<br>”)response.write( “2<br>”)response.write( “3<br>”)response.write( “4<br>”)response.write( “5<br>”) response.write( "<hr>Bye</body></html>" )%> <html><body>Hello<hr>1<br>2<br>3<br>4<br>5<br><hr>Bye</body></html>
การเขียนเว็บด้วย ASP และ HTML ร่วมกัน • <html><title>Welcome to <%=request.servervariables("SERVER_NAME")%></title><body>Hello<hr> <% for n = 1 to 5 response.write( n & "<br>") next %><hr>Bye</body></html> Hello ---------------------------------------------------12345 ---------------------------------------------------Bye
ชนิดของตัวแปร • Empty ข้อมูลชนิดว่าง คือค่าเป็น 0 • Null ข้อมูลว่างๆไม่มีค่าใด ๆ เลย • Boolean เป็นข้อมูลทางตรรกะ คือ True กับ False • Byte จำนวนเต็ม 0-255Integerจำนวนเต็ม -32,768 ถึง 32,767 • Long จำนวนเต็ม -2,483,147,483 ถึง 2,174,483,647 • Double ข้อมูลที่เป็นทศนิยม • Date ใช้เก็บวันและเวลา • String ใช้เก็บข้อความ • Object ตัวแปร Object • Error ชนิดของข้อมูลที่ใช้ในการอ้างถึงคอนโทรลต่าง ๆ
การประกาศตัวแปร • รูปแบบ • Dim <ตัวแปร> เช่น Dim name • หลักการตั้งชื่อตัวแปร1.ต้องไม่ซ้ำกันในโปรแกรมเดียวกัน2.ไม่ตรงกันคำสงวน3.ความยาวไม่เกิน 255 ตัวอักขระ4.ต้องเริ่มต้นด้วย A-Z หรือ a-z
ชนิดของการประกาศตัวแปรชนิดของการประกาศตัวแปร • 1.ประกาศโดยใช้ Dim • ตัวอย่าง Dim name,surname • 2.ประกาศโดยไม่ใช้ Dimตัวอย่าง • name="นายวีระชัย นุกิจรัมย์“ • age=21
Constant ค่าคงที่ • การประกาศค่าคงที่ เป็นการประกาศค่าที่จะใช้ตลอด Application • Const <ชื่อค่าคงที่> = <ค่าคงที่> • ตัวอย่าง • Const CID= 123456789
การเปลี่ยนชนิดของข้อมูลการเปลี่ยนชนิดของข้อมูล ตัวอย่างUTCC = "6923050.1121"UTCC = Cint(UTCC)Output 6923050
Operator ของ Asp • Operator นั้นเป็นการกระทำบางอย่างกับข้อมูล และได้ผลลัพธ์ออกมา ซึ่ง Operator ของ Asp นั้นสามารถแบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ดังนี้
Operator ในการทำงานงานทางคณิตศาสตร์ • Operator ที่เกี่ยวข้องกับการคำนวณทางคณิตศาสตร์ ตัวอย่างเช่น การบวก , การลบ, การคูณ และการหาร เป็นต้น ซึ่งมีดังในตารางดังต่อไปนี้
Operator ในการทำงานทางตรรกะ • Operator ทางตรรกะจะให้ผลลัพธ์เป็นค่า True และ False ซึ่งรายละเอียดในการแสดงผลทางตรรกะในกรณีต่างๆ มีดังนี้ • Operator And สรุป ถ้าเป็นOperator And จะเป็น True กรณีเดียวคือ เมื่อทั้ง A และ B เป็น True
Operator ในการทำงานทางตรรกะ (ต่อ..) • Operator Or สรุป ถ้าเป็นOperator Or จะเป็น False กรณีเดียวคือ เมื่อทั้ง A และ B เป็น False
Operator ในการทำงานทางตรรกะ (ต่อ..) • Operator Xor สรุป ถ้าเป็นOperator Xor จะเป็น ผลที่ได้ออกมาเป็นดังนี้คือกรณีค่าของ A และ B ตรงกัน ผลจะออกมาเป็น False แต่ถ้าค่าของ A และ B ไม่ตรงกันผลออกมาจะเป็น True
Operator ในการทำงานทางตรรกะ (ต่อ..) • Operator Eqv • สรุป ถ้าเป็นOperator Eqv จะเป็น ผลที่ได้ออกมาจะตรงกันข้ามกับ Xor คือ กรณีค่าของ • A และ B ตรงกัน ผลจะออกมาเป็น True แต่ถ้าค่าของ A และ B ไม่ตรงกันผลออกมาจะเป็น False
Operator ในการทำงานทางตรรกะ (ต่อ..) • Operator Imp สรุป Operator Imp จะมีค่าเหมือนกับคำว่า ถ้า....แล้ว ซึ่งถ้าสังเกตตาราง เราสามรถสรุปได้ว่า กรณีที่ผลลัพธ์จะเป็น False นั่นคือ เมื่อ A = True และ B = False เท่านั้น
Operator ในการทำงานทางตรรกะ (ต่อ..) • Operator Not สรุป Operator not จะเป็นการเปลี่ยนค่าที่มีอยู่ในเป็นตรงกันข้าม
Operator ในการทำงานเกี่ยวกับข้อมูลชนิด String • Operator กลุ่มนี้ เป็น Operator ที่ใช้ในการเชื่อมระหว่าง String กับ String เข้าด้วยกัน หรือ ระหว่าง String กับ Numueric ซึ่งมีดังนี้ • + = ใช้เชื่อม String กับ String • & = ใช้เชื่อม String กับ Numeric หรือ String ก็ได้เช่นกัน
ตัวอย่าง "ASP" + "Chapter.com" • ผลที่ได้ ASP Chapter.com • อีกสักตัวอย่าง X = "Hello" Y = 5 Z = "Times" W = X&Y&Z • ผลลัพธ์ที่ได้ Hello 5 times
การประกาศตัวแปร Array • Dim A(5)'ประกาศตัวแปร Array A(0),A(1),A(2),A(3),A(4),A(5) • การกำหนดค่าให้กับ Array • A(0)=4A(1)=9A(2)=5A(3)=6A(4)=3A(5)=1 การประกาศตัวแปร Array หลายมิติ Dim B(2,5) 'Array 2 มิติDim C(2,4,8) 'Array 3 มิติ
Sample <% myarray = array("A", "B", "C", "D") %><% =myarray(0) %> <br><% =myarray(1) %> <br><% =myarray(2) %> <br><% =myarray(3) %> <br> Out PutABCD
Sample <% myarray = array(111, 222, 333, 444, 555) %> <% =myarray(0) %> <br><% =myarray(1) %> <br><% =myarray(2) %> <br><% =myarray(3) %> <br><% =myarray(4) %> <br> Out Put111 222 333 444 555
ตัวอย่างการใช้ Array เพื่อตรวจสอบคำหยาบ <%msg="ช้างน้ำ หมู่ป่า" ' สร้างตัวแปรที่รับข้อมูลเข้ามา badtext = array("ช้างน้ำ","หมูป่า","เก้ง","กระทิง","ไก่") ' ประกาศตัวแปร badtext เป็นอาร์เรย์ที่มีคำหยาบอยู่ภายใน b = 0 For a = 0 to Ubound(badtext) if InStr(msg , badtext(a)) <> 0 then %> 'เปรียบเทียบระหว่างตัวแปรกับข้อมูลอาร์เรย์ พบคำหยาบคำว่า "<%=badtext(a)%>"<br> %> <%Else b = b+1 End if Next if b = Ubound(badtext) + 1 then %> คุณเป็นคนน่ารักมาก ไม่มีคำหยาบเลย<%End if%>
อ้างอิง www.thaicreate.com www.nectec.or.th