330 likes | 522 Views
การพัฒนาเศรษฐกิจ. ( Economic Development). Economic Growth and Economic Development. ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (Economic Growht). การขยายตัวในความสามารถของประเทศ ในอันที่จะผลิตสินค้าและบริการเพื่อสนอง ความต้องการของประชาชน การเพิ่มขึ้นของรายได้ที่แท้จริงเฉลี่ยต่อบุคคล.
E N D
การพัฒนาเศรษฐกิจ (Economic Development)
ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ(Economic Growht) • การขยายตัวในความสามารถของประเทศในอันที่จะผลิตสินค้าและบริการเพื่อสนองความต้องการของประชาชน • การเพิ่มขึ้นของรายได้ที่แท้จริงเฉลี่ยต่อบุคคล
การพัฒนาเศรษฐกิจ(Economic Development) • ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และการเปลี่ยนแปลงหรือปรับปรุงโครงสร้างของระบบเศรษฐกิจ ตลอดจนถึงระบบการเมือง สังคม การบริหาร และการศึกษา เพื่อให้สอดคล้องกับการพัฒนาที่จะส่งผลทำให้สวัสดิการของประชาชนดีขึ้น • รายได้ที่แท้จริงเฉลี่ยต่อบุคคลเพิ่มขึ้นในระยะยาว
การวัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจการวัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ • การวัดระดับ (level) ของความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ • การวัดอัตราความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ • การคำนวณว่าในระยะเวลาหนึ่ง ค่า GDP, GNP ที่แท้จริงเฉลี่ยต่อบุคคลของประเทศได้เพิ่มสูงขึ้นในอัตราเท่าใดเฉลี่ยต่อปี
ผลิตภัณฑ์ประชาชาติเฉลี่ยต่อหัวประชากร (GNP per Capita) ของประเทศไทย
GNP Per Capita at Current price and GDP Growthปี 2000 ที่มา :UNDP
การวัดการพัฒนาเศรษฐกิจการวัดการพัฒนาเศรษฐกิจ • พิจารณาถึงข้อมูลที่เกี่ยวกับสวัสดิการและระดับความอยู่ดีกินดีของประชาชนรวมถึงการมีปัจจัยทุนขั้นพื้นฐานของสังคม (Infra structures) เช่นการมีสิ่งสาธารณูปโภคต่างๆในสังคม
ดัชนีคุณภาพชีวิต (Human Development Index : HDI) • การศึกษา • สุขภาพอนามัย • รายได้ที่แท้จริงเฉลี่ยต่อหัว
GDP per capita and Human development index (HDI) value, 2000
GDP per capita and Human development index (HDI) value, 2000 Source : The Human Development Report Office calculations
องค์ประกอบสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจองค์ประกอบสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ • ทรัพยากรมนุษย์ • ทรัพยากรธรรมชาติ • ทุน • ทุนขั้นพื้นฐานของสังคม (Infrastructure) : สินค้าทุนที่ใช้สนับสนุนกิจกรรมในระบบเศรษฐกิจ • สินค้าทุน
องค์ประกอบสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจองค์ประกอบสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ • ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี • ขนาดของการผลิต • ปัจจัยทางด้านสถาบัน
จุดมุ่งหมายของการพัฒนาเศรษฐกิจจุดมุ่งหมายของการพัฒนาเศรษฐกิจ • เพื่อทำให้รายได้ประชาชาติสูงขึ้น • เพื่อให้อัตราการว่าจ้างทำงานอยู่ในระดับสูง • เพื่อสร้างและรักษาเสถียรภาพด้านราคาสินค้าทั่วๆไป • เพื่อให้ดุลการชำระเงินสมดุล • เพื่อให้มีการกระจายรายได้อย่างเสมอภาคและยุติธรรม • เพื่อกระจายความเจริญสู่ท้องถิ่นต่างๆ
เส้นความยากจนสัดส่วนและจำนวนคนจนเส้นความยากจนสัดส่วนและจำนวนคนจน * ตัวเลขปี 2543 เป็นตัวเลขเบื้องต้น (เดือนม.ค.-มิ.ย. 2543) ที่มา : กองประเมินผลการพัฒนาสศช.
กลุ่ม จำนวน จำนวนสะสม รายได้ รายได้สะสม 1 20 20 20 20 2 20 40 20 40 3 20 60 20 60 4 20 80 20 80 5 20 100 20 100 การวัดการกระจายรายได้
100% รายได้ (%สะสม) 0 100% ครัวเรือน (%สะสม) Lorenz Curve
กลุ่ม จำนวน จำนวนสะสม รายได้ รายได้สะสม 1 20 20 4 4 2 20 40 8 12 3 20 60 12 24 4 20 80 20 44 5 20 100 56 100 การวัดการกระจายรายได้
100% รายได้ (%สะสม) Lorenz Curve A B 0 100% ครัวเรือน (%สะสม) Lorenz Curve
A Gini Index = A + B : การกระจายรายได้ดี Gini Index 0 : การกระจายรายได้มีความเหลื่อมล้ำกันมาก Gini Index 1 การวัดการกระจายรายได้
ความไม่เท่าเทียมกันของรายได้ในประเทศไทยความไม่เท่าเทียมกันของรายได้ในประเทศไทย ที่มา : กองประเมินผลการพัฒนาสศช.
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม • บันทึกของรัฐบาลว่ามีวัตถุประสงค์หรือจุดมุ่งหมายในการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างไรและทำอย่างไรจึงจะบรรลุวัตถุประสงค์ที่วางไว้
แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 1 (2504) World Bank สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สภาพัฒนาการเศรษฐกิจแห่งชาติ (2502) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสัมคมแห่งชาติ 5 ปี ยกเว้นแผนฯ 1 มีระยะเวลา 6 ปี
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ