430 likes | 610 Views
โอกาสและผลกระทบของการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อภาคอุตสาหกรรมประมง. โดย คนิต ลิขิตวิทยาวุฒิ รองเลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. เอกสารประกอบการบรรยายโอกาสและผลกระทบของการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อภาคอุตสาหกรรมประมง
E N D
โอกาสและผลกระทบของการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อภาคอุตสาหกรรมประมงโอกาสและผลกระทบของการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อภาคอุตสาหกรรมประมง โดย คนิต ลิขิตวิทยาวุฒิ รองเลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร เอกสารประกอบการบรรยายโอกาสและผลกระทบของการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อภาคอุตสาหกรรมประมง วันจันทร์ ที่ 22 เมษายน 2556 ณ โรงแรมราชมังคลาสงขลาเมอร์เมด อ.เมือง จ.สงขลา
- การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว (ตลาดร่วมอาเซียน) - การสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน ทางเศรษฐกิจของอาเซียน - การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค - การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก • - การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ • - การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม • - ความยุติธรรมและสิทธิ • ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม • สร้างอัตตลักษณ์ของอาเซียน - การพัฒนาทางการเมือง - การกำหนดบรรทัดฐาน - การป้องกันความขัดแย้ง - แนวทางการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง - การเสริมสันติภาพ
เป้าหมายภายใต้ AEC Blueprint สร้างความมั่นคง มั่งคั่ง และความสามารถในการแข่งขันของอาเซียน
ความสำคัญของอาเซียน ที่มา : ASEAN Secretariat
ประชากรในประเทศอาเซียนประชากรในประเทศอาเซียน
สัดส่วน GDP ภาคเกษตรของประเทศสมาชิกอาเซียน ปี 2554
รายได้ประชากรเฉลี่ยต่อคนต่อปีของประเทศสมาชิกอาเซียนรายได้ประชากรเฉลี่ยต่อคนต่อปีของประเทศสมาชิกอาเซียน
อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของอาเซียน ปี 2555-2556
การลงทุนโดยตรง (Foreign Direct Investment : FDI) ที่มา : ASEAN Community in Figures 2011
การไหลของลงทุนโดยตรงรายประเทศการไหลของลงทุนโดยตรงรายประเทศ (หน่วย : ล้าน US%) ที่มา : ASEAN Community in Figures 2011
การค้าของประเทศอาเซียนการค้าของประเทศอาเซียน ที่มา : ASEAN Community in Figures 2011
ส่วนแบ่งการค้าของประเทศในอาเซียนส่วนแบ่งการค้าของประเทศในอาเซียน ที่มา : ASEAN Community in Figures 2011
มูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตรของไทยปี 2554 ล้านบาท
การค้าสินค้าเกษตรระหว่างไทยกับอาเซียน หน่วย : ล้านบาท ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (จากข้อมูลกรมศุลกากร) หมายเหตุ: สินค้าเกษตรในที่นี้ หมายถึงสินค้าพิกัดศุลกากร 01-24 รวมยางพารา
มูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตรไทยไปอาเซียน ปี 2554 ที่มา สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
การส่งออกและนำเข้าสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์ของไทยกับประเทศสมาชิกอาเซียนปี 2555
การค้าสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์ของไทยกับอาเซียนการค้าสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์ของไทยกับอาเซียน
การค้าสินค้าเกษตรสำคัญระหว่างไทยกับอาเซียน ปี 2555 สินค้าส่งออกมูลค่าสูง สินค้านำเข้ามูลค่าสูง • น้ำตาลทราย • ยางพารา • ข้าวและธัญพืช • ผลไม้ • ปลาและผลิตภัณฑ์ • เนื้อสัตว์ • ปลาทะเลและสัตว์น้ำ • ผลิตภัณฑ์จากใบยาสูบ • รังนก • กาแฟ ชา เครื่องเทศ • อาหารปรุงแต่งจากธัญพืช แป้งและนม • โกโก้และผลิตภัณฑ์
ความสำคัญของภาคประมง ผลิตภัณฑ์มวลรวม (GDP) ภาคเกษตร ณ ราคาคงที่ปี 2531 หน่วย : พันล้านบาท ที่มา : สำนักนโยบายและแผนพัฒนาการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
อัตราการเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคเกษตร ณ ราคาคงที่ ปี 2531 หน่วย : ร้อยละ ที่มา : สำนักนโยบายและแผนพัฒนาการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
ปริมาณและมูลค่าการส่งออก-นำเข้าสินค้าประมงของไทย ปี 2555 นำเข้า ส่งออก ปริมาณ : ตัน มูลค่า : ล้านบาท ปริมาณ : ตัน มูลค่า : ล้านบาท
ปริมาณและมูลค่าการส่งออก-นำเข้าสินค้าประมงของไทยรายสินค้า ปี 2555 ปริมาณ : ตัน มูลค่า : ล้านบาท ส่งนำเข้า ปริมาณ : ตัน มูลค่า : ล้านบาท ส่งออก
ปริมาณและมูลค่าการส่งออก-นำเข้าสินค้าประมงของไทยในอาเซียนรายประเทศ ปี 2555 ส่งนำเข้า ส่งออก ปริมาณ : ตัน มูลค่า : ล้านบาท ปริมาณ : ตัน มูลค่า : ล้านบาท
ปริมาณและมูลค่าการส่งออก-นำเข้าสินค้าประมงของไทยในอาเซียนรายสินค้า ปี 2555 ปริมาณ : ตัน มูลค่า : ล้านบาท ส่งนำเข้า ปริมาณ : ตัน มูลค่า : ล้านบาท ส่งออก
ผลผลิตสินค้าประมงที่สำคัญ ปี 2551 - 2555 หน่วย : ล้านตัน ที่มา : สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร หมายเหตุ : กุ้งและปลานิล เป็นผลผลิตที่ได้จากการเพาะเลี้ยง
ที่ตั้งโรงงานแปรรูปสินค้าประมงที่ตั้งโรงงานแปรรูปสินค้าประมง (ประเภทอาหารและปลาป่น) ได้แก่ พื้นที่จังหวัดสมุทรสาคร สมุทรสงคราม สมุทรปราการ กรุงเทพมหานคร จันทบุรี ระยอง ตราด ชลบุรี สุราษฏร์ธานี สงขลา ปัตตานี และระนอง
มูลค่าการส่งออกสินค้าประมงที่สำคัญ ปี 2551 - 2555 หน่วย : ล้านบาท ที่มา : สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร หมายเหตุ : กุ้ง หมายถึง กุ้งขาวแวนนาไมและกุ้งกุลาดำ
ศักยภาพการแข่งขันของภาคเกษตรไทยกับในอาเซียนศักยภาพการแข่งขันของภาคเกษตรไทยกับในอาเซียน
ตลาดส่งออกที่เปิดกว้างมากขึ้นตลาดส่งออกที่เปิดกว้างมากขึ้น • ประชากรมากกว่า 608 ล้านคน • มีจำนวนนักท่องเที่ยว 4.6 ล้านคน ในปี 2554 และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น • มีความต้องการอาหารเพิ่มขึ้น • มีความต้องการสินค้าคุณภาพเพิ่มขึ้น
แหล่งวัตถุดิบใหม่ของประเทศไทยแหล่งวัตถุดิบใหม่ของประเทศไทย ปลาทูน่า และ ปลาทะเล ปลาหมึก กุ้ง มันสำปะหลัง (สำหรับเอทานอล) ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ (สำหรับอาหารสัตว์ และสำหรับเอทานอล) ข้าวโพดหวาน ถั่วเหลือง ถั่วเขียว ถั่วลิสง สมุนไพร เครื่องเทศ ไม้ต่างๆ
แหล่งวัตถุดิบประมง กัมพูชา ประมงน้ำจืด ลาว ประมงน้ำจืด ประมงน้ำจืด & ประมงทะเล เมียนมาร์ ประมงน้ำจืด & ประมงทะเล เวียดนาม ประมงทะเล อินโดนีเซีย
ขยายฐานการผลิตของประเทศไทยขยายฐานการผลิตของประเทศไทย • อุตสาหกรรมประมง เช่น กุ้ง ปลาน้ำจืด และปลาทะเล • อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ เช่น ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ มันสำปะหลัง • อุตสาหกรรมปศุสัตว์ เช่น ไก่เนื้อ ไก่ไข่ สุกร • อุตสาหกรรมนมและผลิตภัณฑ์ • อุตสาหกรรมน้ำตาลและผลิตภัณฑ์ • อุตสาหกรรมแป้ง เช่น แป้งมันสำปะหลัง แป้งข้าวเจ้า • อุตสาหกรรมอาหารและผลไม้กระป๋อง เช่น มะม่วง ลูกชิด ข้าวโพดหวาน น้ำผลไม้
ศูนย์กลาง (HUB) ด้านโลจิกติกส์ภาคเกษตรในภูมิภาคอาเซียน • ศูนย์พักและกระจายสินค้า • ศูนย์เทคโนโลยีและ นวัตกรรมด้านการเกษตร • ศูนย์ผลิตพันธุ์พืช/ปศุสัตว์/ ประมง • ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตร R3W R3E R12 R9 R1 ที่มา : www.nesdb.go.th
พันธมิตรการค้าสู่ตลาดโลกพันธมิตรการค้าสู่ตลาดโลก • กุ้ง : ไทย อินโดนีเซีย เวียดนาม • ยางพารา : ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย เวียดนาม กัมพูชา • ปาล์มน้ำมัน : ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย • ข้าว : ไทย เวียดนาม พม่า กัมพูชา
การเปิด AEC ต่อสินค้าเกษตรไทยที่สำคัญ • กลุ่มสินค้าที่มีโอกาส • กุ้ง ปลาและผลิตภัณฑ์ • อาหารทะเลกระป๋อง • ปศุสัตว์และผลิตภัณฑ์ เช่น ไก่ สุกร • นมและผลิตภัณฑ์ • โคเนื้อและผลิตภัณฑ์ • น้ำตาลทรายและผลิตภัณฑ์ • ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง • ผลไม้ เช่น มังคุด ลำไย มะม่วง • อาหารแปรรูปและเครื่องปรุงรส • กลุ่มสินค้าที่มีการแข่งขัน • ข้าว • ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ • ไหม • ยางพารา • กลุ่มสินค้าที่จะได้รับผลกระทบ • เมล็ดกาแฟ • น้ำมันปาล์ม • มะพร้าว
ผลกระทบการเปิด AEC ต่ออุตสาหกรรมประมง
แนวทางการปรับตัวอุตสาหกรรมประมงแนวทางการปรับตัวอุตสาหกรรมประมง • ปรับปรุงพันธุ์กุ้ง สร้างอัตลักษณ์กุ้งไทย (Branding และ Labeling) • ผลักดัน ASEAN Shrimp Alliance ให้เกิดการดำเนินงานอย่างมี ประสิทธิภาพ โดยมีศูนย์กลางการบริหารจัดการในประเทศไทย • การเพิ่มศักย์ภาพการผลิตปลานิล กุ้งกร้ามกราม กุ้งทะเล และทูน่า • ผลิตสินค้าที่มีคุณภาพ สอดคล้องกับมาตรฐานการผลิตสากล เป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อม และมาตรฐานการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่ดี (GAP) ของไทย • การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานตลอดห่วงโซ่อุปทาน เช่น อาหาร Q-Farm , Q-Product , Q-Factory และ Q- Restaurants
แนวทางการปรับตัวอุตสาหกรรมประมง (ต่อ • เกษตรกรรายย่อยและรายใหญ่ต้องเชื่อมโยงการผลิตและการตลาดกัน • เพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการสินค้าเกษตรและลดต้นทุน โลจิสติกส์ของธุรกิจตั้งแต่วัตถุดิบ การแปรรูป และการตลาด • เรียนรู้และเข้าใจถึงวัฒนธรรมและพฤติกรรมการบริโภค ประเทศอาเซียน • รู้กฎ ระเบียบ กฎหมาย ในการเข้าไปลงทุนในประเทศอาเซียน • ใช้วัตถุดิบจากประเทศสมาชิกอาเซียนที่มีความได้เปรียบด้านราคา และคุณภาพ โดยร่วมลงทุนกับประเทศเพื่อนบ้านแบบ G2G B2B และ G2B รวมทั้งสร้างเครือข่ายธุรกิจในการลงทุนประเทศอาเซียน
แนวทางการปรับตัวอุตสาหกรรมประมง (ต่อ • ใช้โอกาสในการขยายธุรกิจในประเทศสมาชิกอาเซียนที่ได้รับ สิทธิพิเศษทางการภาษีศุลกากรเป็นการทั่วไป (GSP) จาก สหภาพยุโรป ได้แก่ ประเทศเมียร์ม่า ลาว กัมพูชา และ เวียดนาม เป็นฐานผลิตเพื่อการส่งออก • ใช้ประโยชน์จากการที่ไทยเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ภาคเกษตร จากการพัฒนาเส้นทางคมนาคมขนส่งในภูมิภาคอาเซียนเพื่อ ขยายธุรกิจ