340 likes | 469 Views
สถานการณ์การค้าและเศรษฐกิจ ของประเทศญี่ปุ่น. วิทยากร : นายนพพร บุรัสการ ผู้อำนวยการส่วนประชาสัมพันธ์และประสานการมีส่วนร่วม กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ อดีต อัครราชทูตที่ปรึกษา (ฝ่ายการพาณิชย์) สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ กรุงโตเกียว.
E N D
สถานการณ์การค้าและเศรษฐกิจของประเทศญี่ปุ่นสถานการณ์การค้าและเศรษฐกิจของประเทศญี่ปุ่น วิทยากร :นายนพพร บุรัสการ ผู้อำนวยการส่วนประชาสัมพันธ์และประสานการมีส่วนร่วม กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ อดีต อัครราชทูตที่ปรึกษา (ฝ่ายการพาณิชย์) สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ กรุงโตเกียว
1. การค้าระหว่างประเทศของญี่ปุ่นกับประเทศคู่ค้าสำคัญ ญี่ปุ่น – โลก อัตราการขยายตัว มูลค่า : เหรียญสหรัฐ หน่วย : ร้อยละ ที่มา : World Trade Atlas สำนักบริหารยุทธศาสตร์ กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
แผนภูมิ : แสดงการค้าระหว่างประเทศของญี่ปุ่น
แผนภูมิ : แสดงอัตราการขยายตัวการค้าระหว่างประเทศของญี่ปุ่น
ญี่ปุ่น – สหรัฐอเมริกา อัตราการขยายตัว ส่วนแบ่งตลาด มูลค่า : เหรียญสหรัฐ หน่วย : ร้อยละ หน่วย : ร้อยละ ที่มา : World Trade Atlas สำนักบริหารยุทธศาสตร์ กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
แผนภูมิ : แสดงการค้าระหว่าง ญี่ปุ่น - สหรัฐอเมริกา
แผนภูมิ : แสดงอัตราการขยายตัวการค้าระหว่างประเทศ ญี่ปุ่น - สหรัฐอเมริกา
แผนภูมิ : แสดงส่วนแบ่งตลาดการค้าระหว่างประเทศ ญี่ปุ่น - สหรัฐอเมริกา
ญี่ปุ่น – จีน อัตราการขยายตัว ส่วนแบ่งตลาด มูลค่า : เหรียญสหรัฐ หน่วย : ร้อยละ หน่วย : ร้อยละ ที่มา : World Trade Atlas สำนักบริหารยุทธศาสตร์ กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
แผนภูมิ : แสดงการค้าระหว่างประเทศ ญี่ปุ่น - จีน
แผนภูมิ : แสดงอัตราการขยายตัวการค้าระหว่างประเทศ ญี่ปุ่น - จีน
แผนภูมิ : แสดงส่วนแบ่งตลาดการค้าระหว่างประเทศ ญี่ปุ่น - จีน
ญี่ปุ่น – สหภาพยุโรป อัตราการขยายตัว ส่วนแบ่งตลาด มูลค่า : เหรียญสหรัฐ หน่วย : ร้อยละ หน่วย : ร้อยละ ที่มา : World Trade Atlas สำนักบริหารยุทธศาสตร์ กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
แผนภูมิ : แสดงการค้าระหว่างประเทศ ญี่ปุ่น - สหภาพยุโรป
แผนภูมิ : แสดงส่วนแบ่งตลาดการค้าระหว่างประเทศ ญี่ปุ่น - สหภาพยุโรป
แผนภูมิ : แสดงอัตราการขยายตัวการค้าระหว่างประเทศ ญี่ปุ่น - สหภาพยุโรป
ญี่ปุ่น – อาเซียน อัตราการขยายตัว ส่วนแบ่งตลาด มูลค่า : เหรียญสหรัฐ หน่วย : ร้อยละ หน่วย : ร้อยละ ที่มา : World Trade Atlas สำนักบริหารยุทธศาสตร์ กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
แผนภูมิ : แสดงการค้าระหว่างประเทศ ญี่ปุ่น - อาเซียน
แผนภูมิ : แสดงอัตราการขยายตัวการค้าระหว่างประเทศ ญี่ปุ่น - อาเซียน
แผนภูมิ : แสดงส่วนแบ่งตลาดการค้าระหว่างประเทศ ญี่ปุ่น - อาเซียน
แผนภูมิวงกลม : ส่วนแบ่งการตลาดชองประเทศต่างๆ ในตลาดญี่ปุ่น
แผนภูมิวงกลม : สัดส่วนการส่งออกของญี่ปุ่นไปประเทศต่างๆ
ญี่ปุ่น – ไทย อัตราการขยายตัว ส่วนแบ่งตลาด มูลค่า : เหรียญสหรัฐ หน่วย : ร้อยละ หน่วย : ร้อยละ ที่มา : World Trade Atlas สำนักบริหารยุทธศาสตร์ กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
แผนภูมิ : แสดงการค้าระหว่างประเทศ ญี่ปุ่น - ไทย
แผนภูมิ : แสดงอัตราการขยายตัวการค้าระหว่างประเทศ ญี่ปุ่น - ไทย
แผนภูมิ : แสดงส่วนแบ่งตลาดการค้าระหว่างประเทศ ญี่ปุ่น - ไทย
สินค้าส่งออก10 อันดับแรกของไทยไปตลาดญี่ปุ่น อัตราการขยายตัว มูลค่า : เหรียญสหรัฐ หน่วย : ร้อยละ ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร
แผนภูมิ : แสดงอัตราการขยายตัวของสินค้าส่งออก 10 อันดับแรก
แผนภูมิวงกลม: สัดส่วนสินค้าส่งออก 10 อันดับแรกของไทยไปตลาดญี่ปุ่น
สินค้า 10 อันดับแรกที่ไทยนำเข้าจากญี่ปุ่น อัตราการขยายตัว มูลค่า : เหรียญสหรัฐ หน่วย : ร้อยละ ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร
แผนภูมิ : อัตราการขยายตัวของสินค้า 10 อันดับแรกที่ไทยนำเข้าจากญี่ปุ่น
แผนภูมิวงกลม : สัดส่วนสินค้านำเข้า 10 อันดับแรกที่ไทยนำเข้าจากญี่ปุ่น
2. ปัจจัยกระทบต่อนโยบายเศรษฐกิจของญี่ปุ่น ปัจจัยกระทบต่อนโยบายเศรษฐกิจของญี่ปุ่น คือ 1. การที่สังคมญี่ปุ่นเริ่มมีอัตราประชากรลดลง 2. การเพิ่มขึ้นของค่าใช้จ่ายในการบริการสวัสดิการสังคม (Social Security) อันมีสาเหตุมาจากอัตราการเกิดลดลง และสังคมคนชรา 3. การเปลี่ยนโครงสร้างของเศรษฐกิจภายในประเทศและต่างประเทศ 4. ประเด็นสภาวะสิ่งแวดล้อมโลก 5. การขยายความแตกต่างระหว่างย่านในเมืองและย่านชนบท 6. การเพิ่มขึ้นของการจ้างงานไม่ถาวร (Non-permanent employment) ดังนั้น รัฐบาลญี่ปุ่นจึงกำหนดทิศทางและกลยุทธ์สำหรับนโยบายเศรษฐกิจญี่ปุ่น ในระยะกลาง และระยะยาว ภายใต้ Theme “A Country Open to the World, Growth in Which All Participate, Harmony with the Environment”
3. นโยบายเศรษฐกิจญี่ปุ่น Four challenges 1. สร้างเศรษฐกิจให้เข็มแข็งโดยการใช้กลยุทธ์สำหรับการเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจเพื่อที่จะมีบทบาทในโลก 2. สร้างเศรษฐกิจญี่ปุ่นให้อยู่ร่วมกันอย่างกลมกลืนในสิ่งแวดล้อมโลก 3. ทบทวนความปลอดภัยทางสังคมเพื่อสนับสนุนพื้นฐานความเป็นอยู่ของ ประชาชน และสร้างระบบสวัสดิการสังคม (Social Security) โดยไม่มีผู้ใดถูกละทิ้ง 4. ใช้นโยบายโดยยึดหลักของผู้รับประโยชน์ (Recipients) ทั้งนี้ โดยสร้างรัฐบาลที่ ประชาชนและผู้บริโภคมีบทบาทสำคัญ Three points of view on the reform 1. สร้างระบบเศรษฐกิจสอดรับกับโลก 2. ปฏิรูปสถาบันโดยยึดหลักของผู้รับประโยชน์ (Recipients) ของนโยบาย 3. ภาระรับผิดชอบต่ออนาคต (Responsibility for the future)