150 likes | 222 Views
อนาคตระบบประกันสุขภาพ. ...ก่อนและหลังระบบประกันสุขภาพ. 1994-01… 3.6 % GDP. 2002-10 เฉลี่ย 3.7 % GDP [2010=3.9%]. ปี 2010. ประชาชนและเอกชนจ่ายเอง. 25%. 34%. 48%. 8%. ประกันสังคม. 7%. ราชการและ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง. 27%. 4%. 24%. 16%. 22%. ประกันสุขภาพ. 19%. 31%. 19%.
E N D
อนาคตระบบประกันสุขภาพอนาคตระบบประกันสุขภาพ
...ก่อนและหลังระบบประกันสุขภาพ...ก่อนและหลังระบบประกันสุขภาพ 1994-01… 3.6 % GDP 2002-10 เฉลี่ย 3.7 % GDP [2010=3.9%] ปี 2010 ประชาชนและเอกชนจ่ายเอง 25% 34% 48% 8% ประกันสังคม 7% ราชการและ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 27% 4% 24% 16% 22% ประกันสุขภาพ 19% 31% 19% กระทรวง สาธารณสุข 17% • โดยรวมทั้งประเทศ.. ค่าใช้จ่ายด้านการรักษาพยาบาลต่อรายได้ประชาชาติค่อนข้างคงที่ ทั้งก่อนและหลังการมีระบบประกันสุขภาพ • กองทุนทั้ง 3 รับภาระมากขึ้นจากเฉลี่ย 52% เป็น 66% และเมื่อมีระบบประกันสุขภาพ ทำให้ประชาชนและเอกชนรับภาระน้อยลง 12% (จาก 48% เหลือ 34% โดยเฉลี่ย 2002-10 และ เหลือ 25% ในปี 2010) • ระบบสาธารณสุขพื้นฐาน (ก.สาธารณสุข และ ประกันสุขภาพ) เพิ่มสัดส่วนขึ้นโดยเฉลี่ย 7% (31% เป็น 38%) แลกมาด้วยการที่คนไทยทุกคนเข้าระบบประกันสุขภาพได้ • ค่าใช้จ่ายของราชการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพิ่มสัดส่วนขึ้นโดยเฉลี่ยย 8% (จาก 16% เป็น 24%) โดยในปี 2010 มีสัดส่วน 27% • ประกันสังคม (จ่ายโดยไตรภาคี) เพิ่มบทบาทขึ้น 3 % (จาก 4% เป็น 7%) โดยในปี 2010 รับผิดชอบ 8% ของรายจ่ายรักษาพยาบาลทั้งประเทศ
ประมาณการ:ขยายตัวในอัตราเท่ากับ 5 ปีที่ผ่านมา...โดยไม่ทำอะไรเลย 2002-10… 3.7 % GDP 2011-20 เฉลีย 5.2 % GDP [2020=6.6%] ประชาชนและเอกชนจ่ายเอง % ขยายตัว เท่ากับปี 2006-11 12% 6% 34% ประกันสังคม 48% +3% 34% 7% 41% ราชการและ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง +9% 4% 7% 24% +17% 16% 24% 30% ประกันสุขภาพ 19% +16% 19% 12% 31% 19% กระทรวง สาธารณสุข +8% 19% • ในขณะที่ GDP มูลค่าตลาดขยายตัวประมาณ 6.5% (4.5% ขยายตัวจริง 2 % อัตราเงินเฟ้อ) แต่หากปล่อยให้เหมือน 5 ปีที่ผ่านมาค่าใช้จ่ายรักษาพยาบาลอาจขยายตัวปีละ 9% และจะมีสัดส่วน 6.6% ของ GDP ในอีก 8 ปีข้างหน้า (2020) • ระบบสาธารณะสุขภายใต้ระบบประกันสุขภาพเพิ่มสัดส่วนขึ้น 4% (38% เป็น 42%) • ราชการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพิ่มสัดส่วนขึ้น 17% (จาก 24% เป็น 41%) • ประกันสังคม (จ่ายร่วมในไตรภาคี) ลดบทบาทลง 1 % (จาก 7% เป็น 6%)
ข้อเสนอนโยบายการคลังระยะยาวด้านสุขภาพของประเทศไทย (4 หน่วยงาน.. มีนาคม 2555) 1. ควบคุมการขยายตัวของค่าใช้จ่าย 2. ข้อเสนอ 7 แนวทางการปรับตัว (25,000 ล้านบาท/ปี) • ควบคุมค่าใช้จ่ายด้านผู้ป่วยนอกของระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ (ลดภาระการคลังได้ อย่างน้อย 8,400 ล้านบาทต่อปี) • ควบคุมการใช้ยาเกินความจำเป็น • ปรับระบบการจ่ายเงินโดยเฉพาะผู้ป่วยนอกเพื่อให้เกิดการควบคุมจากด้านผู้ให้บริการ • ปรับระบบการจ่ายเงินผู้ป่วยใน โดยใช้ ระบบวินิจฉัยโรคร่วมกำหนดค่ากลางต้นทุนที่สอดคล้องกันทุกระบบ (ลดภาระการคลังได้อย่างน้อย 6,000 ล้านบาทต่อปี) • ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (ลดอัตราการเพิ่มของงบเหมาจ่ายรายหัวเหลือร้อยละ 5) • ปรับระบบการจัดการเพื่อป้องกันการเจ็บป่วยเรื้อรังโดย เน้นการสร้างเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันการเกิดโรค • ขยายระบบการจัดซื้อยาและอุปกรณ์การแพทย์รวม • ปรับระบบการคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ โดยยกเลิกเบี้ยประกันส่วนการรักษาพยาบาล ให้เหลือเฉพาะส่วนทุพพลภาพและเสียชีวิต (ลดภาระค่าใช้จ่ายระบบได้อย่างน้อย 1,200 ล้านบาทและประชาชนจ่ายค่าสินไหมลดลง) • ให้มีระบบการประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพ ทั้งระบบ (ลดภาระค่าใช้จ่ายได้ประมาณ 5,000 ล้านบาทต่อปี) • จัดระบบจัดหายาและอุปกรณ์การแพทย์รวม (ลดภาระการคลังได้ อย่างน้อย 4,000 ล้านบาทต่อปี) • ปรับระบบการจ้างงานข้าราชการใหม่ ลดภาระด้านการรักษาข้าราชการ อย่างน้อย 24,000 บาทต่อคนต่อปี ลดการขยายตัวจาก 9% เป็น 6% ทำให้ค่าใช้จ่ายรวมลดลงจาก เฉลี่ย 5.2% GDP เป็น 4.0% GDP + 7 มาตรการ..25,000 ล้านบาท (2012) คิดเป็น 6% ของทั้งประเทศ ประมาณ 0.2% GDP ลดค่าใช้จ่ายรวมจาก 4.0% GDP เป็น 3.8 % GDP
สรุป..การประมาณการในกรณีสำคัญสรุป..การประมาณการในกรณีสำคัญ ไม่ทำอะไรเลย ให้อัตราการขยายตัว เท่ากับ 5 ปีที่แล้ว ควบคุมอัตราการขยายตัวตามข้อเสนอของ 4 หน่วยงาน ควบคุมอัตราการขยายตัวตามข้อเสนอของ 4 หน่วยงาน + 7 มาตรการ ประชาชนและเอกชนจ่ายเอง ประกันสังคม ราชการและ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ประกันสุขภาพ กระทรวง สาธารณสุข เฉลีย 5.2 % GDP [2020=6.5%] เฉลีย 4 % GDP [2020= 4 %] เฉลีย 3.8 % GDP [2020= 3.8 %] รายจ่ายของ 3 กองทุนขยายตัว เท่ากับ 16% (เท่ากับ 5 ปีก่อน) สูงกว่า NGDP ขยายตัวที่ 6.5 %(GDP ขั้นต่ำ 4.5% เงินเฟ้อ 2%) ผลคือเฉพาะ 3 กองทุนใช้จ่าย จาก 3% เป็น 6%GDP ในปี 2020 การควบคุมทำให้อัตราการขยายตัวของการใช้จ่ายของ 3 กองทุน จาก 16% (เท่ากับ 5 ปีก่อน) เหลือ 6.3 % ใกล้เคียงกับ NGDP ขยายตัวที่ 6.5 % (GDP ขั้นต่ำ 4.5% เงินเฟ้อ 2%) 7 มาตรการเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพของ 3 กองทุนโดยตรงปีละกว่า 23,000 ล้านบาทต่อปี (เริ่มต้นปี 2012)
แนวทางการดำเนินงานตามข้อเสนอนโยบายการคลังระยะยาวด้านสุขภาพของประเทศไทย (4 หน่วยงาน.. มีนาคม 2555) 1. ควบคุมการขยายตัวของค่าใช้จ่าย • 1.1 เริ่มคุมการใช้จ่าย3 กองทุนไม่ให้ขยายตัวเกิน 6% (อัตราการขยายตัวขั้นต่ำของ NGDP เท่ากับ 6.5%) • 1.2 สาระสำคัญคือการรักษาระดับคุณภาพการให้บริการของทั้ง 3 กองทุนให้เท่าเดิม ซึ่งควรจะทำได้ภายใต้เงินที่เพิ่มขึ้น 6 % • ค่าอุปกรณ์ขยายตัวตามอัตราเงินเฟ้อไม่เกิน 3% • ค่าตอบแทนบุคคลกรไม่เกิน 6 % • และยังมีส่วนเหลือเพื่อเพิ่มบริการ 2. การเพิ่มประสิทธิภาพ 7 มาตรการ • 2.1 ความร่วมมือ 3 กองทุน • 1)ลดการใช้ยา • ให้นโยบายการลดการใช้ยาพร้อมกันทั้ง 3 กองทุน • ให้ สสส. ดำเนินการรณรงค์ลดการใช้ยาทั่วประเทศ • 2) การกำหนดราคากลางยาและอุปกรณ์ทางการแพทย์ร่วมกัน • ในปีงบประมาณ 2011 ให้ สปสช. ประกาศราคายาและอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่จัดซื้อ • ในปีงบประมาณ 2012 ให้เริ่มประมูลยาพื้นฐานและอุปกรณ์ทางการแพทย์ร่วมกัน (ถ้าแพงกว่าราคาประกาศให้สั่งส่วนกลาง ถ้าถูกว่าให้สั่งเลย) • 3) ระบบวินิจฉัยร่วมกันกำหนดราคากลางของการรักษา • 4) ระบบประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพ • จัดตั้งคณะกรรมการประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพ • 5) สร้างระบบติดตามประเมินผลร่วมกัน เพื่อประหยัดค่าใช้จ่าย • 2.2 ส่วนราชการ(รวมรัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญ) • แก้ปัญหาระบบจ่ายเงินผู้ป่วยนอก • ระบบสวัสดิการของข้าราชการใหม่ และพนักงานใหม่ • 2.3 ระบบประกันส้งคมและกองทุนประกันสังคม • คุมค่าใช่จ่ายในงบประมาณปี 2012 ลดการขยายตัวจาก 9% เป็น 6% ทำให้ค่าใช้จ่ายรวมลดลงจาก 5.2% GDP เป็น 4.0% GDP + 7 มาตรการ..25,000 ล้านบาท (2012) คิดเป็น 6% ของทั้งประเทศ ประมาณ 0.2% GDP ลดค่าใช้จ่าย 4.0% GDP เป็น 3.8 % GDP
ความร่วมมือของ 3 กองทุน Regulatory Body System Managers Service Providers คนไทย ทั้งประเทศ สุขภาพ ดีขึ้น ประกันสังคม Delegate Authority and resources With KPI กระทรวงสาธารณสุข สปสช. โรงพยาบาล และสถานพยาบาล กรมบัญชีกลาง. คณะกรรมการประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพ คณะกรรมการจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ร่วมกัน คณะกรรมการกำหนดราคากลางการรักษาพยาบาล ให้มีการแข่งขันเพื่อด้านบริการ ตาม KPI..แต่มีการกำกับตรวจสอบ ทุกกรณี (100%) คณะกรรมการรณรงค์การลดการใช้ยา คณะกรรมการวางระบบติดตามประเมินผล ระบบบริการ การให้บริการ ระบบข้อมูลกลาง สำหรับระบบประกันสุขภาพ การติดตามประเมินผล
ข้อเสนอ: สร้างความยั่งยืนให้หลักประกันสุขภาพ กระทรวง สาธารณสุข ประกันสุขภาพ ราชการและ หน่วยงาน ประกัน สังคม ประชาชนและเอกชนจ่ายเอง ต่างชาติ ทำงานในไทย 69,000 85,000 108,000 29,000 97,000 1,000 รัฐบาลจ่าย จากเงินภาษี รัฐบาลจ่าย จากเงินภาษี รัฐบาลจ่ายจากเงินภาษี ไตรภาคีจ่าย ประชาชนและเอกชนจ่ายเอง ต่างชาติ ทำงานในไทย ประกันสังคม 10 ล้านคน.. 2050 บาท/คน/ปี เฉพาะราชการ2 ล้านคน 30,000 บาท/คน/ปี(รวมพ่อแม่และครอบครัว อีก 4 ล้านคน เฉลี่ย 10,000 บาท/คน/ปี) 48 ล้านคน ..3,000 บาท/คน/ปี ปัจจุบัน 3 ข้อเสนอ ประกันส่วนเพิ่มด้วยตนเอง ระบบประกันส่วนเพิ่ม สำหรับ บริการที่ดีขึ้น โดยผู้ประกันตน ระบบประกันส่วนเพิ่ม สำหรับ บริการที่ดีขึ้น โดยตนเอง ระบบประกันส่วนเพิ่ม สำหรับ บริการที่ดีขึ้น โดยตนเอง ระบบประกันส่วนเพิ่ม สำหรับ บริการที่ดีขึ้น โดยตนเอง 2 ระบบประกันส่วนเพิ่ม สำหรับ บริการที่ดีขึ้น ให้กับข้าราชการและครอบครัว ระบบประกันส่วนเพิ่ม สำหรับ บริการที่ดีขึ้น โดยไตรภาคี ประกันส่วนเพิ่มโดยนายจ้าง ระบบประกันส่วนเพิ่ม สำหรับ บริการที่ดีขึ้น โดยนายจ้าง ระบบประกันส่วนเพิ่ม สำหรับ บริการที่ดีขึ้น โดยนายจ้าง 1 ประกันพื้นฐาน ระบบสาธารณสุขพื้นฐาน คณะกรรมการประเมินเทคโนโลยี...กำหนดมาตรฐานการรักษาของสาธารณสุขพื้นฐาน ทุกระบบจ่ายเข้าระบบประกันสุขภาพกลาง..ตามอัตราประกันที่กำหนด (3000 บาท/คน/ปี หรือตามตกลงกรณีประกันสังคม) สปสช. ไปดำเนินการบริหาร..การให้บริการและ การเบิกจ่ายให้กับ สถานบริการทุกแห่ง ในอัตราสาธารณสุขพื้นฐาน คนต่างชาติ และแรงงานต่างชาติที่มาอยู่ในประเทศไทยจ่าย 3000 บาท/คน/ปี รัฐบาลจ่าย 3000 บาท/คน/ปี ตามจำนวนข้าราชการ ไตรภาคีจ่าย 2050 บาท/คน/ปี ตามตกลงในจำนวนผู้ประกันตน ผู้ทำประกันนอกเหนือจากผู้ประกันตนจ่าย 3000 บาท/คน/ปี รัฐบาลจ่าย 3000 บาท/คน/ปี ตามจำนวนผู้ถือบัตรทอง และรับผิดชอบค่าใช้จ่ายของ ก. สาธารณสุข
ประโยชน์ที่จะได้รับ..และ..การดำเนินงานประโยชน์ที่จะได้รับ..และ..การดำเนินงาน • ระบบสาธารณสุขพื้นฐาน..มีขนาดใหญ่ขึ้น..มีต้นทุนหน่วยต่อลดลง • ระบบสาธารณสุขพื้นฐานครอบคลุมกว่า 70 ล้านคน (คนไทย 67 ล้านคน และชาวต่างชาติไม่น้อยกว่า 3 ล้านคน) ทำให้เกิดการประหยัดในขนาด และตามหลักประกันภัยจะทำให้ต้นทุนประกันต่อหน่วยลดลง • การประหยัดทำให้เหลือเงินเพื่อนำไปใช้ “เพิ่มคุณภาพของระบบสาธารณสุขพื้นฐาน” • เชื่อว่าต้นทุนต่อหน่วยของบริการสาธารณะสุขพื้นฐานที่ลดลง จะช่วยให้รัฐบาลลดค่าใช้จ่ายในการทำการประกันส่วนเพิ่ม (เพื่อคุณภาพและบริการที่ดีขึ้นตามมาตรฐานของข้าราชการ) เทียบกับปัจจุบัน (10,000 บาท/คน/ปี กรณีข้าราชการ และ 3,000 บาทต่อคนกรณีประกันสุขภาพ) • การประกันเพิ่มให้กับสมาชิกในครอบครัวอาจสามารถลดลงได้ หรือ หากคุณภาพระบบสาธารณสุขพื้นฐานดีมากพอ (หรือดีเท่ากับมาตรฐานของราชหารในที่สุด) • กองทุนประกันสังคมเน้นการประกันรายได้จากการว่างงาน • สามารถฝากงานประกันสุขภาพให้กับ สปสช. ในต้นทุนที่ต่ำลง และ อาจทำให้ประหยัดเงินในการทำประกันเพิ่มให้ผู้ประกันตน (เพื่อให้ได้คุณภาพและความสะดวกที่ดีขึ้น) ทั้งนี้กองทุนประกันสังคมยังมีภารกิจสำคัญในการทำประกันรายได้จากการว่างงานเมื่อเข้ารักษาพยาบาล ซึ่งเป็นเรื่องสำคัญมากและต้องการความเชี่ยวชาญเฉพาะ • ระบบประกันสุขภาพของเอกชนเน้นการประกันเพิ่มเติมจากระบบสาธารณสุขพื้นฐาน • ระบบประกันเอกชนซึ่งเดิมรับประกันทั้งพื้นฐานและส่วนเพิ่ม จะจ่ายให้กับ สปสช ในการใช้ระบบประกันพื้นฐาน และจะเน้นการรับประกันเพิ่มเติมจากนายจ้าง หรือจากบุคคลโดยตรง • ประชาชนซึ่งปัจจุบันซื้อประกันเอกชน (รวมพื้นฐานและประกันเพิ่ม) มักจะไม่ได้ใช้ประกันพื้นฐาน จะสามารถลดค่าใช้จ่ายความซ้ำซ้อนในการประกันได้ • หมายเหตุ: หาก 3 กองทุนสามารถทำงานร่วมกันในกรณีเหตุฉุกเฉิน และ กรณีโรคเฉพาะได้ เชื่อว่าจะสามารถนำระบบดังกล่าวมาประยุกต์ใช้กับการรักษาในโรคอื่นๆ ทั้งระบบได้เช่นกัน
ความร่วมมือของ 3 กองทุน Regulatory Body System Managers Service Providers คนไทย ทั้งประเทศ สุขภาพ ดีขึ้น ประกันสังคม Delegate Authority and resources With KPI กระทรวงสาธารณสุข สปสช. โรงพยาบาล และสถานพยาบาล กรมบัญชีกลาง. คณะกรรมการประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพ คณะกรรมการจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ร่วมกัน คณะกรรมการกำหนดราคากลางการรักษาพยาบาล ให้มีการแข่งขันเพื่อด้านบริการ ตาม KPI..แต่มีการกำกับตรวจสอบ ทุกกรณี (100%) คณะกรรมการรณรงค์การลดการใช้ยา คณะกรรมการวางระบบติดตามประเมินผล ระบบบริการ การให้บริการ ระบบข้อมูลกลาง สำหรับระบบประกันสุขภาพ การติดตามประเมินผล
ข้อเท็จจริง และ แนวทางการวางระบบงประมาณปี 2556 System Managers Service Providers ให้บริการคนไทยทั้งประเทศ 1 2 4 แหล่งรายได้ ข้อเท็จจริง บริหารรับ-จ่ายเอง หลักไหนไม่พอก็เก็บจากหลักอื่น ไม่พอก็ใช้เงินบำรุงบริจาค สธ.โอนเงินระหว่างสถานพยาบาลบ้าง ประกันสังคม สปสช. โรงพยาบาล และสถานพยาบาล กรมบัญชีกลาง เงื่อนไขใหม่ กรมบัญชีกลางคุมค่าใช้จ่าย เงินบำรุงและบริจาคลดลง บำรุง-บริจาครายได้พิเศษ 3 • ทุกกองทุนต้อง.. วางงบประมาณให้พอดี..กับ..บริการที่ต้องเพิ่ม..เพราะไม่สามารถ (ไม่ควร) บริหารแบบเก็บเพิ่มจากแหล่งที่เก็บได้ • วางงบประมาณเกิน..คือ..ไม่มีประสิทธิภาพ • วางงบประมาณขาด..คือ..กระทบการให้บริการกับประชาชน หลักการ 4 ปัจจัยเสริม ความร่วมมือของ 3 กองทุน ประสิทธิภาพการเบิกจ่าย-โอนเงิน 4-5-6-7 /9000 ล้านบาท
โครงสร้างงบประมาณ สปสช ปี 2556โครงสร้างเหมือนเดิม..ยกเว้นมีเงินเพิ่มจากนโยบายรัฐบาล(ค่าแรงขั้นต่ำ 300 บาท/วัน ปริญญาตรี 15,000 บาท/เดือน เงินพิเศษพยาบาล 3 จังหวัดภาคใต้) งบประมาณปี 2556 งบประมาณปี 2555 10 มีนาคม 2555 28 กันยายน 2554 147,393 Xxx,xxx บริการพิเศษ 7,428 ล้านบาท บริการพิเศษ xxxx ล้านบาท จิตเวช 204 จิตเวช xxx P&P 437 P&P xxx ไตวาย 3,847 ไตวาย xxxx AIDS 2,940 AIDS xxxx เหมาจ่าย รายหัว 2,896 ต่อคน 139,953 ล้านบาท ค่าใช้จ่ายเพื่อบริการ 107,087 เหมาจ่าย รายหัว Xxxxต่อคน คนเพิ่มxxคน XXXX ล้านบาท ค่าใช้จ่ายเพื่อบริการ Xxx,xxx เงินเดือน 32,866 เงินเดือน Xx,xxx เงินเพิ่มตามนโยบายรัฐบาล xxxx
คำขอสำหรับงบประมาณเหมาจ่ายรายหัวปี 2556 คำของบประมาณ เหมาจ่ายรายหัวปี 2556 ขอตามปริมาณ ที่เพิ่ม +1.5% ลดงบจากน้ำท่วม -4.8% คำขอ 2555 อนุมัติจริง 2555 -8% จากคำขอ ค่าใช้จ่ายในการให้บริการ/คน เพิ่มขึ้น 44 บาท 1.5% จากที่อนุมัติปี 2555 [ปริมาณการให้บริการผู้ป่วยใน-นอก+1.5%] [15 บาทจากนโยบาย P&Pและแพทย์แผนไทย] [ค่ายาและอื่นๆที่กำหนดได้ + 1.7%] 3,148 ปริมาณการให้บริการ ลดลงหรือไม่ ยังไม่ได้สรุป หากเก็บ 30 บาท/ครั้ง ได้รายได้ต่อคน =41/คน ก็เพียงพอ 44 บาท/คน 2,940 2,896 ปรับงบประมาณกลับสู่ระดับก่อนน้ำท่วม 140 2,756 ขอปรับเข้าสู่ระดับเดิมก่อนน้ำท่วม 2,896บาท/คน โดยไม่ขอเพิ่ม 6,717 ล้านบาท
2 คำขอบริการพิเศษ..HIV..ไตวายเรื้อรัง..P&P..จิตเวช ของบประมาณ 9,301 ล้านบาท เพิ่มจากปีก่อน 2065 ล้านบาท (+28.5%) • HIV (+659 ล้านบาท +22.4%) • ผู้ป่วยสะสมเพิ่ม +7.4% • ต้องใช้ยาแพง (+440 ล้านบาท) • ผู้ป่วยต้องใช้สูตรดื้อยา +80% • ผู้ป่วยต้องใช้ยาป้องกัน +800 % • ต้นทุนการสนับสนุนศูนย์ (+219 ล้านบาท) • 420 ศูนย์ 67,000 เป็น 110,000 บาท • ต้นทุนอื่นๆให้คงที่ กำกับบริการตามงบประมาณที่ สงป. เสนอ ยกเว้นขอเพิ่ม 125 ล้านบาทเรื่องฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติด • ไตวาย (+559 ล้านบาท +14.5%) • ผู้ป่วยสะสมเพิ่ม +46.1% • ต้นทุนค่าบริการ (Unit Cost) ทุกประเภทให้ลดลง หรือเท่าเดิม โดยเฉลี่ยต่อผู้ป่วยลดลง -31.6 % • P&P (+847 ล้านบาท +193.4%) • ควบคุมเบาหวานและความดันโลหิต (+425 ล้านบาท + 97.1%) • จำนวนคนที่เข้าถึงปี 2556 เป็น 2.74 ล้านคน (เพิ่มขึ้น 10% ต่อปี) จากฐาน 2.47 ล้านคนในปี 2555 เทียบกับ ที่สงป.ให้ 1.61 ล้านคนในปี 2555 • ต้นทุนห้องปฎิบัติการคงเดิม แต่ปรับเป้าหมายการตรวจทางห้องปฎิบัติการตามมาตรฐาน • P&P (ต่อ) • 2.จิตเวช (+127 ล้านบาท) • ทั่วไป (204 ล้านบาท) ขอเท่าเดิมและย้ายไปอยู่ใน เหมารายหัว) • ขอเพิ่มจิตเวชเรื้อรัง (127 ล้านบาท) • 3. กลุ่มบริการใหม่ (295 ล้านบาท) • ผู้ป่วยปอดอุดกั้นเรื้อรัง • ฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติด
เปลี่ยนอะไร..และ..ประชาชนได้อะไรเปลี่ยนอะไร..และ..ประชาชนได้อะไร 10 ปีแรก..พิสูจน์แล้วว่า..ประกันสุขภาพถ้วนหน้า ให้การรักษากับคนไทยทุกคน..ทำได้จริง 5 ปีข้างหน้า ...จากรักษาถ้วนหน้า...มาเป็น.. สุขภาพดีถ้วนหน้าทั้งครอบครัว People centric: สุขภาพที่ดีของประชาชนเป็นเป้าหมาย สะดวก..เข้ารักษาได้ทุกที่เมื่อ....(ฉุกเฉิน?) เพิ่มคุณภาพตามมาตรฐานสากล Prevention first, with quality curative medication Less hazardous from excessive medicine Natural treatment by Thai Medicare พร้อมรับ Aging Society ระบบยั่งยืน..ด้วยประสิทธิภาพการจัดการ