540 likes | 675 Views
โครงการสร้างความเข้าใจร่วมกันด้านงานประกันคุณภาพ : ตัวบ่งชี้ของสาขาวิชา. 13 มีนาคม 2557 ณ ห้องประชุม พรรณา นิคม. คณะรับการตรวจประเมินคุณภาพจากใครบ้าง. 2 ตัวบ่งชี้. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ก.พ.ร. 23 ตัวบ่งชี้. สำนักประกันคุณภาพ มก. สกอ. คณะ ทอ. 18 ตัวบ่งชี้. สมศ.
E N D
โครงการสร้างความเข้าใจร่วมกันด้านงานประกันคุณภาพ: ตัวบ่งชี้ของสาขาวิชา 13 มีนาคม 2557 ณ ห้องประชุม พรรณานิคม
คณะรับการตรวจประเมินคุณภาพจากใครบ้างคณะรับการตรวจประเมินคุณภาพจากใครบ้าง 2 ตัวบ่งชี้ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ก.พ.ร. 23 ตัวบ่งชี้ สำนักประกันคุณภาพ มก. สกอ. คณะ ทอ. 18 ตัวบ่งชี้ สมศ.
ระบบการประเมินคุณภาพภายในระบบการประเมินคุณภาพภายใน • การประกันคุณภาพภายในประเมินโดย “สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาแห่งชาติ” (สกอ.) • เน้นด้านปัจจัยนำเข้า , กระบวนการ • ประเมินทุกปี
ระบบการประเมินคุณภาพภายนอก 18 ตัวบ่งชี้ • การประเมินคุณภาพภายนอก ประเมินโดย “สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือเรียกชื่อย่อว่า “สมศ.” • เน้นด้านผลผลิตและผลลัพธ์ • ประเมินทุก 5 ปี แต่ต้องรายงานผลทุกปี
ระบบงานประกันคุณภาพคณะระบบงานประกันคุณภาพคณะ
KPI ของสาขา วัตถุประสงค์ในการตรวจประกันระดับสาขา • เป็นกฎกระทรวงซึ่งบังคับไว้ • เพื่อให้สาขาทราบถึงศักยภาพของตนเอง จากการประเมินตนเองตามตัวบ่งชี้ที่คณะกำหนด • เพื่อให้สาขาทราบถึงจุดที่ควรพัฒนา
KPI ของสาขา : ด้านการเรียนการสอน • อาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก (สกอ.2.2) • อาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ (สกอ.2.3) • ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน (สกอ.2.6) • การพัฒนาคณาจารย์ (สมศ. 14) • ผลการสำรวจความพึงพอใจการใช้ห้องปฏิบัติการ (สกอ.2.5)
KPI ของสาขา : ด้านการวิจัย • เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ต่อจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัยประจำ (สกอ4.3) • งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ (สมศ. 5) • งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นำไปใช้ประโยชน์ (สมศ. 6) • ผลงานวิชาการที่ได้รับรองคุณภาพ (สมศ. 7)
KPI ของสาขาด้านบริการวิชาการ • ระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแก่สังคม (สกอ.5.1) • ผลการนำความรู้และประสบการณ์จากการให้บริการวิชาการมาใช้พัฒนาการเรียนการสอนและงานวิจัย (สมศ.8)
การนับระยะเวลา นับตามปีการศึกษา ปีการศึกษา 2556>> 1 มิถุนายน 2556 – 31 พฤษภาคม 2557 นับตามปีปฏิทิน ปีปฏิทิน 2556 >> 1 มกราคม 2556 – 31 ธันวาคม 2556 นับตามปีงบประมาณ ปีงบประมาณ 2556 >> 1 ตุลาคม 2555 - 30 กันยายน 2556
การนับจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัยประจำการนับจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัยประจำ ให้นับระยะเวลาทำงาน ดังนี้ 9 – 12 เดือน คิดเป็น 1 คน 6 เดือนขึ้นไปแต่ไม่ถึง 9 เดือน คิดเป็น 0.5 คน น้อยกว่า 6 เดือน ไม่สามารถนำมานับได้ การปัดจุดทศนิยม : ปัดทศนิยมตำแหน่งที่ 3 เช่น 72.364เป็น 72.36 72.365เป็น 72.37
การกำหนดหมายเลขเอกสารการกำหนดหมายเลขเอกสาร • ตัวบ่งชี้ที่เป็นเกณฑ์มาตรฐาน (ข้อ) 2.6-1-1 เอกสารหมายเลข 1 ตัวบ่งชี้ที่ 2.6 เกณฑ์มาตรฐานข้อที่ 1
การกำหนดหมายเลขเอกสารการกำหนดหมายเลขเอกสาร • ตัวบ่งชี้ที่เป็นผลลัพธ์ หรือตัวบ่งชี้ของ สมศ. 4.3-1 เอกสารหมายเลข 1 ตัวบ่งชี้ที่ 4.3
นับตามปีการศึกษา ปีการศึกษา 2556>> 1 มิถุนายน 2556 – 31 พฤษภาคม 2557
ตัวบ่งชี้ สกอ.ที่ 2.2 :อาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
ตัวบ่งชี้ สกอ.ที่ 2.2 :อาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก • คำนวณค่าร้อยละของอาจารย์ประจำที่มีวุฒิปริญญาเอก จำนวนอาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก x 100 จำนวนอาจารย์ประจำทั้งหมด (ปฏิบัติงานจริง + ลาศึกษาต่อ) การนับจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัยประจำให้นับระยะเวลาทำงานดังนี้ 9 – 12 เดือน คิดเป็น 1 คน 6 เดือนขึ้นไปแต่ไม่ถึง 9 เดือน คิดเป็น 0.5 คน น้อยกว่า 6 เดือน ไม่สามารถนำมานับได้
2. แปลงค่าร้อยละที่ คำนวณได้ ในข้อ 1 เทียบกับคะแนนเต็ ม 5 คะแนนที่ได้ = ร้อยละของอาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก X 5 ร้อยละของอาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกที่กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 ( ร้อยละ 60) • 1. ค่าร้อยละของอาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกที่ กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 60 ขึ้นไป หรือ • 2. ค่าการเพิ่มขึ้นของร้อยละของอาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิ ปริญญาเอก เปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมาที่กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 12 ขึ้นไป
หาข้อมูลเพิ่มเติม • อ.พัชราภรณ์ ถิ่นจันทร์ (สัญญาจ้างครบ 9 ด.หรือไม่ .. จะนับรึเปล่า) • อ.ดร.ธัญวนิชย์ (บรรจุรึยัง) • อ.ดร.รชา (ลาออกเมื่อไหร่) • อ.ณรงค์ (ประมง) บรรจุเมื่อไหร่ • อ.ชื่นจิต จันทจรูญพงษ์ (กลับมาเมื่อไหร่) • อ.ดร.ภิญญารัตน์ ไป Post-doc กี่เดือน นับได้ 0.5 คน?
ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 : อาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ เกณฑ์เฉพาะสถาบันกลุ่ม ค1 และ ง1 • ค่าร้อยละของอาจารย์ ประจำที่ดำรงตำแหน่งรวมกันที่ กำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์= ร้อยละ 30 ขึ้นไป • หรือ 2) ค่าการเพิ่มขึ้นของร้อยละของอาจารย์ประจำที่ ดำรงตำแหน่ง รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์รวมกันเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมาที่ กำหนดให้ เป็นคะแนนเต็ ม 5 = ร้อยละ 6 ขึ้นไป
ตัวบ่งชี้ที่ 2.6 : ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน ตัวบ่งชี้ที่ 2.6 : ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน เกณฑ์มาตรฐาน : • 1. มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญทุกหลักสูตร • (มคอ.2) • 2. ทุกรายวิชาของทุกหลักสูตรมีรายละเอียดของรายวิชาและของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี ) ก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาตามที่กำหนดในกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ • (มคอ.3) • (มคอ.4)
ตัวบ่งชี้ที่ 2.6 : ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน • 3. ทุกหลักสูตรมีรายวิชาที่ส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเองและการให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการปฏิบัติทั้งในและนอกห้องเรียนหรือจากการทำวิจัย - มคอ.2, มคอ. 3 - วิชาเทคนิควิจัย, ปัญหาพิเศษ - โครงการฝึกงาน - การดูงานนอกสถานที่ ทั้งในรายวิชาและเป็นโครงการ
ตัวบ่งชี้ที่ 2.6 : ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน • 4. มีการให้ผู้มีประสบการณ์ทางวิชาการหรือวิชาชีพจากหน่วยงานหรือชุมชนภายนอกเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนการสอนทุกหลักสูตร - การเชิญอาจารย์พิเศษมาสอน - การนำนิสิตไปฟังการบรรยาย / เยี่ยมชมหน่อยงานทั้ง ใน/ นอกสถาบัน - การฝึกงาน หรือปฏิบัติงานในวิชาสหกิจศึกษา • 5. มีการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาจากการวิจัยหรือจากกระบวนการจัดการความรู้เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน • การทำวิจัยในชั้นเรียน • Home Room อาจารย์ ที่มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การจัดการเรียนการสอน
ตัวบ่งชี้ที่ 2.6 : ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน • 6. มีการประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อคุณภาพการจัดการเรียนการสอนและสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ทุกรายวิชาทุกภาคการศึกษาโดยผลการประเมินความพึงพอใจแต่ละรายวิชาต้องไม่ต่ำกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5 • รายงานการประมินความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอน ทุกรายวิชา • สรุปการประเมินความพึงพอใจการใช้ห้องปฏิบัติการ • 7. มีการพัฒนาหรือปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนกลยุทธ์การสอนหรือการประเมินผลการเรียนรู้ทุกรายวิชาตามผลการประเมินรายวิชา
ตัวบ่งชี้ สมศ.ที่ 14 การพัฒนาคณาจารย์
วิธีการคำนวณ ค่าดัชนีคุณภาพอาจารย์ คำนวณดังนี้ • เกณฑ์การให้คะแนนใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบโดยกำหนดให้ ค่าดัชนีคุณภาพอาจารย์ เป็น ๖ เท่ากับ ๕ คะแนน ผลรวมถ่วงน้ำหนักของอาจารย์ประจำ จำนวนอาจารย์ทั้งหมด ปฏิบัติงานจริง+ ลาศึกษาต่อ
ผลการสำรวจความพึงพอใจการใช้ห้องปฏิบัติการ (สกอ. 2.5)
ตัวบ่งชี้ที่ 4.3 เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ต่อจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัยประจำ เงินสนับสนุนงานวิจัยฯ จากภายในและภายนอก จำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัยประจำ (เฉพาะที่ปฏิบัติงานจริง) ใช้ข้อมูลในฐานข้อมูลของ Ku-rdiเท่านั้น www.rdi.ku.ac.th https://research.rdi.ku.ac.th/kur3/login.aspx ปีงบประมาณ 2556 (1 ตุลาคม 2555 – 30 กันยายน 2556)
การคิดสัดส่วนงานวิจัยการคิดสัดส่วนงานวิจัย 100 %
ขอทราบสัดส่วนงานวิจัย โดยใช้หลักฐานคือ Proposal สมมติ อ.พิชาด 50% อ.ภานุวัฒน์ 30%นสพ. วิศุทธิ์ 20% โครงการวิจัยนี้คิดได้ 80% = (327,080 x 80) / 100 = 261,664 บาท
ตัวบ่งชี้ที่ 5 งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ ใช้ข้อมูลในฐานข้อมูลของ Ku-rdiเท่านั้น www.rdi.ku.ac.th https://research.rdi.ku.ac.th/kur3/login.aspx ปีปฏิทิน 1 มกราคม 2556- 31ธันวาคม 2556
วิธีการคำนวณ ผลรวมถ่วงน้ำหนักของงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ตีพิมพ์หรือเผยแพร่ จำนวนอาจารย์ทั้งหมด ปฏิบัติงานจริง+ ลาศึกษาต่อ เกณฑ์การให้คะแนน ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบโดยกำหนดร้อยละ 20 เท่ากับ 5 คะแนน
ตัวบ่งชี้ที่ 6 งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นำไปใช้ประโยชน์ • แบบฟอร์มรับรองการนำผลงานวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ไปใช้ประโยชน์ • http://158.108.110.14/~qa_assurance/index.php?page=details&menu_type=evaluation • การนับจำนวนผลงานวิจัยหรือผลงานสร้างสรรค์ที่ นำไปใช้ประโยชน์ให้นับจากวันที่นำผลงานวิจัยมาใช้ โดยงานวิจัยจะเกิดขึ้นในปีใดก็ได้ • หากผลการวิจัยเรื่องเดียวกันมีการนำไปใช้ประโยชน์มากกว่า 1 ครั้งให้นับการใช้ประโยชน์ได้เพียงครั้งเดียว ยกเว้นในกรณีที่มีการใช้ประโยชน์ที่แตกต่างกันชัดเจนตามมิติของการใช้ประโยชน์ที่ไม่ซ้ำกัน
ผลรวมของจำนวนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นำไปใช้ประโยชน์ผลรวมของจำนวนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นำไปใช้ประโยชน์ เกณฑ์การประเมิน ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบ กำหนดร้อยละ 20 เท่ากับ 5 X 100 จำนวนอาจารย์ทั้งหมด ปฏิบัติงานจริง+ ลาศึกษาต่อ นับตามปีปฏิทิน 2556 : 1มกราคม 2556 – 31 ธันวาคม 2556
ตัวบ่งชี้ที่ 7 ผลงานวิชาการที่ได้รับการรับรองคุณภาพ • การนับจำนวนผลงานทางวิชาการที่ได้รับการรับรองคุณภาพ จะนับผลงานวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรูปแบบของ 1. บทความวิชาการในวารสารวิชาการทั้งในระดับชาติและ/หรือนานาชาติ 2.หนังสือ หรือตำราทางวิชาการ ซึ่งมีระบบการพิจารณาต้นฉบับ จากคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิก่อนการตีพิมพ์และผลงานจะต้องเกินร้อยละ 50 ของชิ้นงาน ในกรณีที่มีการตีพิมพ์มากกว่า 1 ครั้ง ให้นับการตีพิมพ์เพียงครั้งเดียวต่องานวิชาการ 1 ชิ้น
วิธีการคำนวณ ผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานวิชาการที่ได้รับรองคุณภาพ X 100 จำนวนอาจารย์ทั้งหมด ปฏิบัติงานจริง+ ลาศึกษาต่อ เกณฑ์การให้คะแนน ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบโดยกำหนดร้อยละ 10 เท่ากับ 5 คะแนน นับตามปีปฏิทิน 2556 : 1มกราคม 2556 – 31 ธันวาคม 2556 ไม่มีฐานข้อมูล
นับตามปีการศึกษา ปีการศึกษา 2556>> 1 มิถุนายน 2556 – 31 พฤษภาคม 2557
ระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแก่สังคม(สกอ. 5.1) เกณฑ์มาตรฐาน • มีระบบและกลไกการบริการวิชาการแก่สังคม และดำเนินการตามระบบที่กำหนด (ขอที่รองฯ วิจัยฯ) • มีการบูรณาการการบริการวิชาการแก่สังคม กับการเรียนการสอน • มีการบูรณาการการบริการวิชาการแก่สังคม กับการวิจัย • มีการประเมินผลความสำเร็จของการบูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอน และการวิจัย (ดูในตาราง) • มีการนำผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณาการงานมีการบูรณาการการบริการวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอน และการวิจัย
เกณฑ์ข้อ 2การบูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคมกับ การจัดการเรียนการสอน • เช่น การให้นิสิตนำความรู้ที่ได้รับจากห้องเรียน/ รายวิชาไป จัดกิจกรรมบริการวิชาการ พานิสิตไปถ่ายทอด ความรู้ที่ได้รับในรายวิชา โครงการบริการวิชาการ
เกณฑ์ข้อ 3การบูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคมกับ การวิจัย แบบที่ 1 มีการนำผลการวิจัยไปสู่การใช้ประโยชน์จริง ที่ตอบสนองความต้องการ ของทุกภาคส่วน องค์ความรู้จากงานวิจัย เกษตรกรหรือ องค์กรอื่นนำไปใช้ประโยชน์
แบบที่ 2 นำความรู้ประสบการณ์จากการให้บริการกลับมาพัฒนาต่อยอดผ่านงานวิจัย อ.ออกไปบริการวิชาการ ทราบปัญหาจริง และนำมาเป็นโจทย์วิจัย
เกณฑ์ข้อ 5มีการนำผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอน และการวิจัย • รายงานการประชุมสาขา เพื่อพิจารณาเรื่อง“การปรับปรุงการบูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอน และการวิจัย” • โดยอ้างอิงจากผลการประเมิน • ผลประเมินผลการบูรณาการงานบริการวิชาการและการเรียนการสอนโดยนิสิต • แบบประเมินความพึงพอใจผู้รับบริการวิชาการ
สมศ.8 ผลการนำความรู้ และประสบการณ์จากการให้ บริการวิชาการมาใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอนและ/หรือการวิจัย การนำความรู้ และประสบการณ์จากการให้บริการวิชาการมา พัฒนามี 2 ประเภท คือ • 1. การพัฒนาการเรียนการสอน • 2. การพัฒนาการวิจัย -โครงการบริการวิชาการที่เป็นตัวตั้ง ต้องบูรณาการเสร็จสิ้นในปีที่ประเมิน - โครงการบริการวิชาการที่เป็นตัวหาร ต้องเป็นโครงการที่ดำเนินการในปีที่ประเมิน โครงการหนึ่งๆ จะบูรณาการ 1. เฉพาะการเรียนการสอน หรือ 2. เฉพาะการวิจัย หรือ 3. ทั้งการเรียนการสอน หรือการวิจัยก็ได้ นำจำนวนโครงการที่มีการบูรณาการ ในตัวบ่งชี้ สกอ. 5.1 มาคำนวณในตัวบ่งชี้นี้