130 likes | 296 Views
ชี้แจงงบตามเกณฑ์ศักยภาพบริการปฐมภูมิ (On top payment ) ปีงบประมาณ 2555. งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการและบริการปฐมภูมิ 1,879 ลบ .(38.88 บ./ ปชก. ). งบ P&P ปี 2555. 1) งบตามเกณฑ์ศักยภาพบริการปฐมภูมิ (On top payment ) 1,396 ลบ. ( 28.88 บ./ปชก.).
E N D
ชี้แจงงบตามเกณฑ์ศักยภาพบริการปฐมภูมิ (On top payment)ปีงบประมาณ 2555
งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการและบริการปฐมภูมิงบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการและบริการปฐมภูมิ 1,879 ลบ.(38.88 บ./ปชก.) งบ P&P ปี 2555 1) งบตามเกณฑ์ศักยภาพบริการปฐมภูมิ (On top payment) 1,396 ลบ. (28.88บ./ปชก.) 2) งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการปฐมภูมิ 483 ลบ. (10บ./ปชก.) PPA 1.1สนับสนุนรพ.สต.และหน่วยบริการปฐมภูมิอื่นๆ ตามเกณฑ์ที่กำหนด เขต= 99,526,722 2.2 สนับสนุนการผลิตพัฒนาและกระจายบุคลากร (183 ลบ.) 2.1 พัฒนาศักยภาพการจัดบริการปฐมภูมิ 300ลบ.) (เขต=21,351260) งบจัดสรรตามเกณฑ์คุณภาพเชิงกระบวนการ (483 ลบ.) กองทุนพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ สปสช.เขต 1.1+2.1=120,877,982
ความแตกต่าง ปี 2554 vsปี 2555 งบ On top payment
ผลผลิตสำคัญ เมื่อสิ้นปีงบประมาณ 2555 งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการและบริการปฐมภูมิ งบ P&P ปี 2555 1) งบตามเกณฑ์ศักยภาพบริการปฐมภูมิ (On top payment) 2) งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการปฐมภูมิ PPA (ส่วนกลาง) 1.มี CMU/clinic ผ่านเกณฑ์0 แห่ง 2.มี PCU (รพ.สต.) ตามเกณฑ์ 650 แห่ง 3.ผลผลิตเชิงกระบวนการและผลผลิตบริการตามเกณฑ์ 650แห่ง 1.มี DHS ที่สอดคล้องกับบริบทพื้นที่ ฯลฯ 1.มีแพทย์รพช./PCU ได้รับการอบรม FM 100คน 2. มี รพช.50 แห่งเป็นสถาบันร่วมผลิตและพัฒนากำลังคน ฯลฯ การทำงานและระบบข้อมูลบริการปฐมภูมิมีคุณภาพมากขึ้น กองทุนพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ สปสช.เขต
งบ on top payment งบพัฒนาศักยภาพฯ งบตามเกณฑ์คุณภาพ กำหนดเกณฑ์กลาง วางกรอบแนวทาง เสนอเมนูตัวชี้วัด ส่วนกลาง จัดสรรวงเงินระดับเขต ตกลงตัวชี้วัดคุณภาพเชิงกระบวนการร่วมกับ สาขาจังหวัด-จัดสรรวงเงินระดับจังหวัด จัดทำชุดเกณฑ์กลาง+เขต & แนวทางระดับเขต จัดทำแนวทางการพัฒนาบริการปฐมภูมิ ระดับเขต สปสช. เขต ผ่านความเห็นชอบ จาก อปสข. ชี้แจงจังหวัด- หน่วยบริการ ดำเนินการตามแนวทาง สรุประดับเขต ตรวจสอบ-เบิกจ่าย-สรุป เบิกจ่าย-สรุป ชี้แจงหน่วยบริการ-ตรวจสอบผลงาน- เบิกจ่ายเงินให้หน่วยบริการ-สรุปส่งเขต ชี้แจงหน่วยบริการ จังหวัด ดำเนินการตามแนวทาง/โครงการ – สรุปและส่งผลงาน รับรองข้อมูล PCU Profile - ส่งเขต PCU ประเมินศักยภาพตนเอง – CUP รับรองข้อมูล - ส่งจังหวัด หน่วยบริการ ส่งผลงานตามตัวชี้วัด ส่งให้จังหวัด
แสดงจำนวนและร้อยละหน่วยบริการปฐมภูมิที่ผ่านเกณฑ์ on top payment **เป้าหมายปี 2555 (จำนวนหน่วยบริการPC 1010 แห่ง)ประมาณผ่านเกณฑ์ 631 แห่ง สำรอง 19 แห่ง รวมตั้งป้าหมาย= 650 แห่ง คิดเป็น 64.4%
1) งบตามเกณฑ์ศักยภาพบริการปฐมภูมิ (On toppayment) เกณฑ์และเงื่อนไขการประเมิน ปี 2555 • เกณฑ์ประเมินกลาง :เป็นเกณฑ์ขั้นต่ำที่หน่วยบริการปฐมภูมิต้องมีครบถ้วนตามที่กำหนด • เกณฑ์ประเมินระดับพื้นที่ :เป็นเกณฑ์เพิ่มเติมที่คณะกรรมการหรือคณะทำงานระดับเขตที่อปสข. หรือ สปสช.เขต แต่งตั้ง กำหนดให้มีตามความพร้อมหรือนโยบายของแต่ละพื้นที่ หรือกำหนดเป็นเงื่อนไขหรือรายละเอียดเพิ่มเติมจากเกณฑ์กลาง โดยอาจใช้เกณฑ์และเงื่อนไขรอง ปี 2554 เป็นฐานในการพิจารณา
เกณฑ์ศักยภาพบริการปฐมภูมิ 4 ด้าน ศักยภาพพื้นฐาน: 1.เป็นหน่วยบริการที่ผ่าน/ผ่านแบบมีเงื่อนไขตามเกณฑ์การขึ้นทะเบียน 2. มี NPอย่างน้อยแห่งละ1 คน 3. สัดส่วนพยาบาลต่อปชก.UC ไม่เกิน 1:5,000 คน (ไม่ยืดหยุ่น) 4. สัดส่วนบุคลากรปฏิบัติงานประจำต่อปชก.UC ไม่เกิน 1:1,250 คน 5. มีแพทย์(พ.เวชศาสตร์ครอบครัว/พ.ที่ผ่านการอบรมหลักสูตรเวชศาสตร์ครอบครัว/แพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป) ที่ได้รับมอบหมายให้ดูแล รับผิดชอบ และ สนับสนุนหน่วยบริการปฐมภูมิเป็นประจำ(ไม่ใช่แพทย์หมุนเวียน) สัดส่วนแพทย์ต่อประชากรไม่เกิน 1:10,000 คน ( ยืดหยุ่นไม่เกิน 1: 12,000 คน แต่จ่ายอัตรา ปชก. ตามจริงแต่ไม่เกิน 10,000 เช่นเดียวกับปี 2554)
เกณฑ์ศักยภาพบริการปฐมภูมิ 4 ด้าน ศักยภาพการจัดบริการ: 1. มีบริการโรคเรื้อรัง (DM, HT) เชิงรุกในชุมชนร่วมกับกองทุนระดับท้องถิ่น และมีแผนงาน/โครงการ/ผลงาน ที่มีงบประมาณของกองทุนระดับท้องถิ่นร่วมสมทบ 2. มีการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังต่อเนื่องจากหน่วยบริการประจำในพื้นที่ โดยมีทะเบียนผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ซึ่งมีข้อมูลที่จำเป็นขั้นต่ำ ได้แก่ รายชื่อ การรักษาที่จำเป็น วันนัดหมาย และข้อมูลพื้นฐานที่จำเป็นอื่นๆ
เกณฑ์ศักยภาพบริการปฐมภูมิ 4 ด้าน ศักยภาพการบริหาร: มีคณะกรรมการบริหารหน่วยบริการปฐมภูมิที่ท้องถิ่นและชุมชนมีส่วนร่วม มีการประชุมเป็นประจำอย่างน้อย2เดือน/ครั้ง มีบทบาทสนับสนุน รพ.สต.อย่างเป็นรูปธรรม
เกณฑ์พื้นที่ 1. คุณภาพ และความชัดเจนของการมีแพทย์ ให้การดูแลหน่วยบริการปฐมภูมิ 1.1 มีการเยี่ยม หน่วยบริการปฐมภูมิ อย่างน้อย เดือนละ1 ครั้ง กรณีไม่ได้ลงเยี่ยมพื้นที่อาจนัดหมายประชุม/มีกิจกรรม case conference 1.2 สร้างระบบ consult อย่างเป็นรูปธรรม 1.3 มีหลักฐานการconsult ได้แก่ consult แพทย์ อะไร case อะไร ผลเป็นอย่างไร
2. ทะเบียนผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีผลการตรวจ Lab ที่จำเป็นขั้นต่ำ(ในรอบ1 ปี ผู้ป่วยDM ต้องมีผลการตรวจน้ำตาล(DTX, FBS ) และ BP อย่างน้อย 1 ครั้ง ผู้ป่วยHT ต้องค่า BP และต้องได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวาน) 3. การเยี่ยมบ้านในผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนได้รับการเยี่ยม โดยจนท. 4. มีเภสัชกรช่วยเสริมการจัดระบบยาของรพสต.โดยไม่มียาหมดอายุ 5.จัดให้มีบริการ Home ward ของกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง /ผู้พิการ
งบตามเกณฑ์ศักยภาพบริการปฐมภูมิ (0n top) • (1) • กำหนดเกณฑ์กลาง • จัดสรรวงเงินให้เขต สปสช. ส่วนกลาง สปสช.เขต • (6) • แจ้งเกณฑ์ประเมินของเขต • สรุปผลงาน จำนวนหน่วย+งบ • (5) • ตรวจสอบ-สุ่มลงตรวจประเมินตามเกณฑ์ • โอนเงินแก่หน่วยบริการ • แจ้งผลการประเมินแก่จังหวัด/หน่วยบริการ • (4) • ตรวจสอบและรับรอง PCU Profile • ส่งเขต • (2) • ชุดเกณฑ์กลาง+เกณฑ์เขตเพิ่มเติม • ผ่านความเห็นชอบ อปสข. • จัดสรรวงเงินระดับจังหวัด สปสช.สาขาจังหวัด/สสจ./สสอ. หน่วยบริการ • (3) • PCU ประเมินตนเองตาม PCU Profile ปี 55 • CUP รับรองข้อมูลของ PCU • ส่งจังหวัด 13