130 likes | 300 Views
ผู้ให้สัมมนา นายรุ่งรดิศ เหมฤดี รหัสประจำตัว 50312323 วุฒิการศึกษา สาธารณสุขศาสตร์บัณฑิต จาก มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ตำแหน่ง เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข 5 สถานที่ปฏิบัติงาน ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก กรมอนามัย
E N D
ผู้ให้สัมมนา นายรุ่งรดิศ เหมฤดี รหัสประจำตัว 50312323วุฒิการศึกษา สาธารณสุขศาสตร์บัณฑิตจาก มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ตำแหน่ง เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข 5 สถานที่ปฏิบัติงาน ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก กรมอนามัย กลุ่มพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม
การนำวิธีการgas chromatography–mass Spectrometryมาใช้ในการตรวจอนุพันธ์ฝิ่นและโคเคนในฟันมนุษย์
ในการศึกษาครั้งนี้ ต้องการตอบคำถามเกี่ยวกับความน่าเชื่อถือ และความเที่ยงตรง ของวิธีการทดสอบหา Opiate และ cocaine ในฟันโดยวิธี GC – MS และการประยุกต์ขั้นต้นในการสกัดสารจากฟันของผู้ที่ใช้ยาเสพติดรวมถึงผู้เลิกเสพยา เพื่อประเมินและยืนยันการรายงานผลในผู้ป่วยเรื้อรัง
1.บทนำ 2. การทดลอง สารเคมีและน้ำยา 6-monoacetylmorphine – HCL (6-MAM) ,morphine– HCL, nalorphine– HCL (Internal standard) ,cocaine– HCL, benzoylecgonine tetrahydrate ซื้อมาจาก Salars (Como, Italy) cocaethylene metanolic solution (100 µg/ml) ได้รับมาจาก Prof. J. Segura (IMIM, Barcelona, Spain ) Bis (trimethylsily) trifluoroacetamide (BSTFA) ใน 1% trimethylchorosilane (TMCS) จาก Sigma-Aldrich (Milano, Italy) น้ำยาทั้งหมดเป็น analytical grade รับรองโดย Carlo Erba (Milan, Italy)
สรุปผล กระบวนการ GC/MSเพื่อวิเคราะห์ฝิ่นและโคเคนในฟันซึ่งรายงานนี้มีความน่าเชื่อถือตามเกณฑ์ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ ตัวอย่างถูกย่อยในกรดและสกัดโดยของเหลว ตามด้วยกระบวนการแยกโครมาโตกราฟี ประกอบด้วย Fused silica columnและ เครื่องตรวจวัดแบบ SIMmodeกระบวนการได้รับการพิสูจน์ว่ามีความไวอย่างเพียงพอสำหรับการวิเคราะห์สารประกอบทุกตัวโดยใช้ฟัน 1 กรัม ตัวอย่างฟันนี้ไม่ถูกทำลายและสามารถใช้ได้ในการวิเคราะห์ด้านชีววิทยาทางการแพทย์สำหรับวัตถุประสงค์ทางคลินิกและทางการสืบสวน