1 / 26

Chapter 3 : Still Image ( ภาพนิ่ง )

Chapter 3 : Still Image ( ภาพนิ่ง ). Ukrit Marang. เกี่ยวกับภาพ. ภาพนิ่งที่ใช้งานบนคอมฯ เกิดจาการรวมกันของจุดสี (Pixel) จุดสีอยู่คนละจุดในตำแหน่งที่เหมาะสมจะเกิดเป็นภาพ คุณภาพของการแสดงผลภาพนิ่งจะอยู่ที่ความละเอียดของภาพ และประสิทธิภาพของอุปกรณ์. ภาพนิ่ง.

viveka
Download Presentation

Chapter 3 : Still Image ( ภาพนิ่ง )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Chapter 3 : Still Image(ภาพนิ่ง) Ukrit Marang Chpater 3

  2. เกี่ยวกับภาพ • ภาพนิ่งที่ใช้งานบนคอมฯ เกิดจาการรวมกันของจุดสี(Pixel) • จุดสีอยู่คนละจุดในตำแหน่งที่เหมาะสมจะเกิดเป็นภาพ • คุณภาพของการแสดงผลภาพนิ่งจะอยู่ที่ความละเอียดของภาพ และประสิทธิภาพของอุปกรณ์ Chpater 3

  3. ภาพนิ่ง “สิ่งต่างที่มองเห็นล้วนเรียกว่าภาพทั้งนั้น อาจจะเป็นภาพขาวดำหรือมีสีสัน มีลักษณะรูปร่างต่างกันออกไปโดยที่ภาพที่ไม่มีการเคลื่อนไหวจะเรียกว่าภาพนิ่ง” Chpater 3

  4. ประเภทของภาพนิ่ง • ภาพ 2 มิติ(2D Image) • Vector Graphic : ลักษณะโครงสร้าง รูปทรง เรขาคณิตเช่น เส้นตรง วงกลม รูปหลายเหลี่ยม(.AI,.CDR,PDF,.WMF) • Bitmap Image : ลักษณะใกล้เคียงของจริง โครงสร้างวซับซ้อนกว่า(.BMP,.GIF,.JPEG,.TIFF) • ภาพ 3 มิติ(3D Image) Chpater 3

  5. Vector Graphic ภาพที่ตกแต่งแล้ว โครงร่างของภาพ Chpater 3

  6. ลักษณะเฉพาะของภาพ Vector • จัดเก็บในลักษณะคำสั่งโครงสร้างทางเรขาคณิต • ไฟล์มีขนาดเล็ก • ปรับปรุงโครงสร้างได้แม้เป็นเส้นบางๆ • ย่อ ขยายภาพได้โดยไม่สูญเสียภาพ • CDR,WMF,PDF Chpater 3

  7. Bitmap Image Chpater 3

  8. ลักษณะเฉพาะของภาพ Bitmap • เป็นภาพที่ประกอบรวมกันของจุดสี(Pixel) หลายจุดประกอบรวมกันเป็นภาพ • ขนาดของไฟล์ขึ้นอยู่กับการบีบอัดและความละเอียดของภาพ • รองรับการแสดงสีได้มากกว่า 16.7 ล้านสี(26 bit) • เปลืองเนื้อที่มากกว่า Vector • BMP,GIF,JPEG,PCX,PSD,TIFF Chpater 3

  9. การตัดภาพบางส่วนของภาพเมื่อขยายจะเห็นจัดสีเป็นกรอบสี่เหลี่ยมอย่างชัดเจนการตัดภาพบางส่วนของภาพเมื่อขยายจะเห็นจัดสีเป็นกรอบสี่เหลี่ยมอย่างชัดเจน Chpater 3

  10. ภาพ 3D Image y • เป็นภาพ Vector ประเภทหนึ่ง • เป็นภาพมที่มีลักษณะมุมมองเหมือนจริงในรูปทรง 3 มิติ • มีพื้นฐานจากภาพ 2 มิติ(x,y) แต่เพิ่มความลึกในการสร้างภาพ(z) • AutoCAD,3D Studio,Extreme 3D 2D x y 3D x z Chpater 3

  11. ความละเอียดภาพยิ่งสูง ไฟล์ก็ยิ่งใหญ่ • Dpi(Dot per inch) หน่วยวัความละเอียดภาพ จำนวนจุดต่อตารางนิ้ว 6” ความละเอียด 300 dpi color=24 bit File Size =1200x1800x3 byte =6.480,000 byte =6.2 MB 4x300= 1200 pixel 4” 6x300=1800 pixel Chpater 3

  12. Color dept: ระดับความลึกสี • จุดสี(Pixel) แต่ละจุดจะแสดงด้วยจำนวนบิตจำนวนหนี่งเรียกว่า “ความลึกสี (Color dept)” • 1 บิตมี 2 ค่า คือ 0,1 จึงได้ 2สีเช่นขาว ดำ • 2 บิตมี 4 ค่า คือ 00,01,10,11 จึงได้ 4 สี • ดังนั้นการเพิ่มขั้นอีกบิตทำให้สีเพิ่มขึ่น 2 เท่า Chpater 3

  13. 256 สี 1 pixel=1 byte=8 bit---->28=256 สี Chpater 3

  14. High Color RGB 1 pixel=2 byte=16 bit---->216=65536 สี Chpater 3

  15. True Color 1 pixel=3 byte=24 bit---->224=16.78 ล้านสี Chpater 3

  16. Color Model RGB CMYK Chpater 3

  17. Bitmap(.BMP) • สร้างโดย Microsoft เหมาะกับการนำไปใช้บันทึกภาพตันฉบับ ที่ต้องการเก็บรายละเอียดของภาพทั้งหมด • ใช้เทคนิค RLE-Encoding ในการบีบไฟล์ได้ Chpater 3

  18. Bitmap(.BMP) • ข้อดี • โปรแกรมบนวินโดว์ทุกตัวสามารถเรียกใช้ได้หมด • Color dept1-24bit(16 ล้านสี) • ข้อเสีย • ไฟล์มีขนาดใหญ่มาก ไม่เหมาะในการนำไปใช้ในอินเตอร์เน็ต Chpater 3

  19. Togged Image File(.TIF) • ใช้ได้กับหลายระบบปฏิบัติการ • เหมาะกับงานคุณภาพสูง ในงานระดับมืออาชีพ • สามารถตั้งค่าความลึกสีได้สูงสุดถึง 64 บิต • ไฟล์มีขนาดใหญ่มาก • ใช้เทคนิค LZW-Encoding ในการบีบไฟล์ได้ Chpater 3

  20. Togged Image File(.TIF) • ข้อดี • ใช้ได้กับทุกระบบปฏิบัติการ • ความลึกสีมากถึง 64 บิต • ข้อเสีย • ไฟล์มีขนาดใหญ่มาก ไม่เหมาะในการนำไปใช้ในอินเตอร์เน็ต Chpater 3

  21. Graphics Interchange Format(.GIF) • เหมาะกับงานด้านรับส่งทางอินเตอร์เน็ต • มีค่าความลึกองสีแค่ 8 บิต แสดงสีได้สูงสุด 256 สี • ใช้เทคนิค LZW-Encoding ในการบีบไฟล์ โดยที่คุณภาพไม่ลดลง • ไฟล์มีขนาดเล็กมาก • ไม่เหมาะกับงานที่บันทึกรายละเอียดมากๆ เหมาะกับงานที่สีไม่มากนักเช่น Icon,ปุ่ม,สัญลักษณ์ Chpater 3

  22. Joint Photographic Expert Group(JPEG) • เป็นอีกรูปแบบที่ได้รับความนิยม มักใช้ในอินเตอร์เน็ต • ระดับความลึกของสี 24 บิต • เหมาะกับการนำไปใช้บีบอัดรูปถ่าย • ไม่มีปัญหากับ Browser แต่ถ้ามีขนาดไฟล์มาก ทำให้ใช้เวลาค่อนข้างนานเวลาโหลด • การบีบอัดไฟล์เกิน 75% จะทำให้คุณภาพของภาพลดลง Chpater 3

  23. เทคนิคการทำให้ภาพเล็กลงเทคนิคการทำให้ภาพเล็กลง • RLE(Run Length Encoding) • หลักการหาจุดที่มีสีเหมือนกันและอยู่ติดกัน แล้วนำมารวมเหลือจุดเดียวและบันทึกจุดเฉพาะค่าจุดสีเดิมไว้ • RLE จะตรวจสอบไฟล์ที่ละบรรทัด ทำให้ภาพที่ประกอบด้วยเส้นตามแนวนอนจะบีบได้มากกว่าเส้นแนวตั้ง • LZW Encoding • หลักการหาจุดที่เรียงเหมือนกันเป็นกลุ่ม(Pattern) ซึ่งกลุ่มที่พบบ่อยจะกำหนดให้เป็นโค้ดต่างๆ (มีตารางโค้ด) Chpater 3

  24. RLE : Run Length Encoding 9 3 2 2 4 5 9 2 3 6 8 4 8 4 Chpater 3

  25. LZW - Encoding c1 c2 c2 c1 c2 c2 c1 c2 c2 c1 Chpater 3

  26. Graphic Software Photoshop FreeHand CAD IIIustrator Coreldraw Etc.. • สำหรับตกแต่งภาพวาด • สำหรับตกแต่งรูปภาพ • สำหรับออกแบบภาพ 3D • สำหรับสร้างแบบภาพจำลอง 3D • สำหรับวาดภาพ Chpater 3

More Related