150 likes | 551 Views
การสร้างห้องเรียนคุณภาพ โดย อ.เอื้อมพร รุ่งศิริ ณ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี 26 มีนาคม 2555. ห้องเรียนคุณภาพคืออะไร?. การนำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนคุณภาพ การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน การวิจัยในชั้นเรียน (Classroom Action Research – CAR)
E N D
การสร้างห้องเรียนคุณภาพการสร้างห้องเรียนคุณภาพ โดย อ.เอื้อมพร รุ่งศิริ ณ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี 26 มีนาคม 2555
ห้องเรียนคุณภาพคืออะไร?ห้องเรียนคุณภาพคืออะไร?
การนำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนคุณภาพการนำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนคุณภาพ • การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน • การวิจัยในชั้นเรียน (Classroom Action Research – CAR) • การใช้ ICT เพื่อการสอนและสนับสนุนการสอน • การสร้างวินัยเชิงบวก (Positive Discipline)
การนำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนคุณภาพการนำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนคุณภาพ • รูปแบบในการบริหารจัดการรายวิชาของอาจารย์ • ยกระดับคุณภาพผู้เรียน • มีการปรับการเรียน เปลี่ยนวิธีสอน • จัดบรรยากาศ
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน การจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ (Lesson Plan) จากหน่วยการเรียนรู้ที่กำหนด ออกแบบการประเมินผลอย่างต่อเนื่อง
การวิจัยในชั้นเรียน (CAR-Classroom Action Research) เป็นการศึกษาค้นคว้าของครู เพื่อแก้ปัญหาการจัดกิจกรรม การเรียนการสอน หรือพฤติกรรมนักเรียน รวมถึงการคิดวิเคราะห์ เพื่อพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน เป็นการวิจัยที่ดำเนินการควบคู่ไปกับการปฏิบัติงานของครูและครูเป็นผู้นำผลการวิจัยนั้นมาใช้ประโยชน์
ปัญหาที่เกิดขึ้นจะมี 3 ประเด็น คือ 1. พุทธิพิสัย (Cognitive Domain) - ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2. จิตพิสัย (AffectiveDomain) - พฤติกรรม 3. ทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) - ความชำนาญ รวดเร็ว
สรุปหลักการสำคัญของการวิจัยในชั้นเรียน (อริยสัจ 4) + (การประเมิน) ทุกข์: ปัญหา (ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ) สมุทัย: สาเหตุของปัญหา (เหตุให้ทุกข์เกิด) นิโรธ: วิธีการที่ใช้แก้ปัญหา (ความดับทุกข์) มรรค: วิธีการที่เหมาะสมที่ใช้แก้ปัญหา (ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์) การประเมิน: ดูผลการแก้ปัญหาที่ทำไปแล้วว่าได้รับความสำเร็จ มากน้อยเพียงใด
กิจกรรมที่ 1 ขอให้ท่านอาจารย์ทุกท่าน พิจารณาย้อนหลังดูว่าในรอบ 1 ปีที่ผ่านมา ท่านภาคภูมิใจกับผลสำเร็จในการแก้ปัญหาจากนักเรียนในชั้นเรียนของท่าน มีอะไรบ้าง เสนอมา 3 รายการ 1……………………………………… 2……………..……….………………. 3.……………………………………... ในจำนวน 3 ข้อนี้ ข้อที่ท่านภาคภูมิใจมากที่สุด คือ ข้อ …….....
กิจกรรมที่ 2 จากผลการแก้ปัญหานักเรียนในชั้นเรียนของท่าน ข้อที่ท่านภาคภูมิใจมากที่สุด ในกิจกรรมที่ 1 ให้ท่านเขียนรายละเอียดตามหัวข้อ ดังนี้ 1. สภาพปัญหา (ปัญหาที่ท่านพบในห้องเรียนของท่าน ก่อนมีการแก้ปัญหา)……………………………………………………….. 2. วิธีการที่ท่านนำมาใช้ในการแก้ปัญหา (ท่านทำอย่างไรจึงสามารถแก้ปัญหานั้นได้สำเร็จ)…………………………………………….. 3. รู้ได้อย่างไรว่าวิธีการที่ท่านนำมาใช้สามารถแก้ปัญหาได้สำเร็จ (มีคะแนน หรือตัวบ่งชี้อะไรที่สามารถบอกได้ชัดเจน)….................
กิจกรรมที่ 3 • ให้ท่านนำความสำเร็จจากกิจกรรมที่ 2 มาเขียนรายละเอียด ดังนี้ • หัวข้องานที่ท่านทำได้ประสบความสำเร็จ................................ • สภาพปัญหาก่อนการแก้ปัญหา................................................ • จุดมุ่งหมายที่ต้องการแก้ปัญหา................................................ • วิธีการที่ท่านนำมาใช้ในการแก้ปัญหา..................................... • กลุ่ม(นักเรียน)เป้าหมายที่ท่านต้องการแก้ปัญหา.................... • วิธีการที่ใช้วัดผลสำเร็จในการแก้ปัญหา................................. • สรุปผลการแก้ปัญหา.............................................................
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) เพื่อการสอนและสนับสนุนการสอน • การใช้สื่อสารสนเทศที่กว้างขวางเพื่อการสืบค้นและการเรียนการสอนสู่ห้องเรียนสากล (Global Classroom) • ครูสามารถเรียนรู้แนวทางได้จากอินเตอร์เน็ต เช่น การสอนที่ใช้พลังของเด็ก (Power Teaching) • เด็กก็สามารถเรียนรู้และเลียนแบบจากต้นแบบในอินเตอร์เน็ตเช่นเดียวกัน เช่น การเล่นกีฬา ดนตรีประเภทต่าง • ทำให้สื่อใกล้ตัวครูและนักเรียนมากขึ้น ชุมชนการเรียนรู้กว้างออกจากห้องเรียนไปสู่สากลด้วย e-mail การใช้บล็อก (Blog) ที่มีบริการแก่สมาชิก เช่น www.gotoknow.org/ ; http://www.blogger.com/เป็นต้น
การสร้างวินัยเชิงบวก (Positive Discipline) การสร้างฐานข้อมูลนักเรียนรายบุคคลเพื่อศึกษา เช่น แฟ้มประวัติและผลงานนักเรียน มีข้อมูลสารสนเทศและเครือข่ายระบบดูแลนักเรียนอย่างทั่วถึง การส่งเสริมวินัยให้เกิดขึ้นในตัวนักเรียน เช่น การสร้างและปฏิบัติตามกฎห้องเรียน (House Rules) การใช้กิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนได้มีส่วนร่วมคิดร่วมทำ การแก้ปัญหาและตอบปัญหาเชิงบวก ใช้กิจกรรมสร้างสรรค์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ห้องเรียนคุณภาพ กับ 4 ก้าวคุณภาพครู ก้าวที่ 1กำหนดหน่วยการเรียนรู้สาระรายวิชา (Course Syllabus)“บอกการเป็นนักวางแผนชั้นครู” ก้าวที่ 2วางแผนการจัดการเรียนรู้ (Lesson Plan)“บอกความเป็นนักออกแบบชั้นครู” ก้าวที่ 3 การจัดกิจกรรมการเรียนเรียนรู้“บอกความเป็นนักบริหารจัดการชั้นครู” ก้าวที่ 4การประเมินการสอนรายวิชา“บอกความเป็นนักวิจัยชั้นครู”