690 likes | 761 Views
บทที่ 2. ผู้บริหารและหน้าที่ของผู้บริหาร. 2.1 ผู้บริหาร. ผู้บริหารระดับสูง ::: กำหนดนโยบาย วางแผนระยะยาว ผู้บริหารระดับกลาง ::: รับผิดชอบงานเฉพาะในฝ่ายของตน ผู้บริหารระดับต้นหรือระดับปฏิบัติงาน ::: ควบคุมดุแลรับผิดชอบการปฏิบัติงานของคนงาน. 2.2 หน้าที่ของผู้บริหาร.
E N D
บทที่ 2 ผู้บริหารและหน้าที่ของผู้บริหาร
2.1 ผู้บริหาร • ผู้บริหารระดับสูง::: กำหนดนโยบาย วางแผนระยะยาว • ผู้บริหารระดับกลาง::: รับผิดชอบงานเฉพาะในฝ่ายของตน • ผู้บริหารระดับต้นหรือระดับปฏิบัติงาน::: ควบคุมดุแลรับผิดชอบการปฏิบัติงานของคนงาน
2.2 หน้าที่ของผู้บริหาร • ตามกระบวนการจัดการของคูนตซ์ (POSDC) • การวางแผน (Planning) • การจัดองค์กร (Organizing) • การจัดคนเข้าทำงาน (Staffing) • การอำนวยการ (Directing) • การควบคุมงาน (Controlling)
การวางแผน (Planning) • การกำหนดวัตถุประสงค์การทำงานไว้ล่วงหน้า โดยกำหนดวิธีและแนวทางปฏิบัติงานไว้ด้วย • ใช้ข้อมูลในปัจจุบันเพื่อเตรียมการสำหรับอนาคต • กำหนดเป้าหมายและวิธีการที่จะนำไปสู่เป้าหมาย • เกี่ยวข้องกับการกระทำหรือกิจกรรม • มีการตัดสินใจของผู้บริหารมาเกี่ยวข้อง
การวางแผนแบ่งเป็น 3 ชนิด ตามระยะเวลา • การวางแผนระยะยาว(Long-range Planning) • มากกว่า 5 ปี ::: งานใหญ่ ซับซ้อน แผนพัฒนาอาวุธ • การวางแผนระยะปานกลาง(Medium-range Planning) • ระหว่าง 3-5 ปี ::: แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ • การวางแผนระยะสั้น(Short-range Planning) • ไม่เกิน 1 ปี ::: กิจกรรมเฉพาะอย่างที่ต้องการในระยะใกล้แผนงบประมาณ
ประโยชน์ของการวางแผน • สามารถช่วยวางแนวทางในการดำเนินงานขององค์กรล่วงหน้า • เพื่อให้การทำงานภายในองค์กรสัมพันธ์กัน และลดการทำงานซ้ำซ้อน • ช่วยให้การตรวจสอบและควบคุมงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น • ช่วยส่งเสริมหน้าที่อื่นๆ เช่น การจัดหน่วยงาน การจัดคนเข้าทำงาน ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
ขั้นตอนพื้นฐานในการวางแผนขั้นตอนพื้นฐานในการวางแผน • วิเคราะห์หาปัจจัยที่จะมีผลกระทบต่อองค์กร • ปัจจัยภายนอก (External Factor) • ปัจจัยภายนอกที่มีผลกระทบต่อองค์กร ไม่สามารถควบคุมได้ • มีผลก่อให้เกิดภัยหรืออุปสรรค (Treat)และโอกาส (Opportunity)ขององค์กร
ขั้นตอนพื้นฐานในการวางแผนขั้นตอนพื้นฐานในการวางแผน 2. ปัจจัยภายใน (Internal Factor) • ปัจจัยที่อยู่ภายในองค์กร และสามารถควบคุมได้ • มีผลต่อ จุดอ่อน (Weakness)และจุดแข็ง (Strength) ขององค์กร • เช่น บุคลากรในองค์กร
2. กำหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมาย แผนงาน หรือโครงการต่างๆ • วัตถุประสงค์::: จุดหมายปลายทางของการทำงานอย่างใดอย่างหนึ่งให้สำเร็จ • เป้าหมาย ::: สิ่งที่ต้องการทำให้สำเร็จโดยกำหนดในรูปของเวลาและตัวเลขเชิงปริมาณ • แผนงาน::: เป็นแผนที่แบ่งงานออกเป็นกลุ่มงานใหญ่ๆ • โครงงาน::: เป็นแผนงานย่อยที่กำหนดรายละเอียดของการปฏิบัติงาน
ปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอก จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค วัตถุประสงค์ โครงการ ขั้นตอนพื้นฐานในการวางแผน
ตัวอย่างแผนการปรับปรุงคุณภาพผลผลิตตัวอย่างแผนการปรับปรุงคุณภาพผลผลิต • วัตถุประสงค์ ... เพื่อให้คุณภาพของผลผลิตดีขึ้น • เป้าหมาย ... ลดเปอร์เซ็นการเกิดของเสียให้เหลือเพียง 5% ในระยะเวลา 3 เดือน • แผนงาน 1. ปรับปรุงวิธีการทำงาน 2. ปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการทำงาน ... • ส่วนประกอบของโครงงาน • ชื่อโครงการ • ชื่อหน่วยงานที่รับผิดชอบ ...
Gantt Chart หมายเหตุ # หมายเลขผลิตภัณฑ์
การจัดการองค์กร (Organizing) • ความสัมพันธ์ของบุคคลต่างๆภายในองค์กรอย่างเป็นทางการ • แบ่งเป็นหน่วยงานย่อยต่างๆ • กำหนดอำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบชัดเจน • “องค์กรหรือองค์การ คือ กลุ่มของบุคคลหลายๆ คน ที่มาทำกิจกรรมร่วมกัน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้”
การจัดการองค์กร (Organizing) • ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลต่างๆ • โครงสร้างองค์กร (Organization Structure) หรือ • แผนภูมิขององค์กร (Organization Chart) • การจัดองค์กร ::: การจัดความสัมพันธ์ระหว่างส่วนต่างๆ คือ ตัวบุคคล และหน้าที่การงาน เพื่อทำให้เกิดการทำงานที่มีประสิทธิภาพและสามารถบรรลุเป้าหมายได้ การจัดองค์กร ต้องมีแผนภูมิขององค์กรด้วยเสมอ
President Sales Manager Plant Manager Personnel Manager Manager Dept. B Manager Dept. A ตัวอย่างแผนภูมิขององค์กร
หลักการของการจัดองค์กรหลักการของการจัดองค์กร • ช่วงของการควบคุม (Span of Control) • จำนวนบุคคลที่อยู่ภายใต้การควบคุมของบุคคล 1 คน • ช่วงกว้างหรือแคบ ขึ้นกับ ความสามารถของผู้บังคับบัญชา การได้รับการฝึกฝน ความซับซ้อน ฯลฯ • ลินดอล เอฟ เออร์วิก ::: • ผู้บริหารระดับสูงไม่ควรมีผู้ใต้บังคับบัญชาเกิน 4 คน • ผู้บริหารระดับล่าง อาจจะมีได้ 8-12 คน
หลักการของการจัดองค์กร (ต่อ) • ระดับชั้นขององค์กร (Organization Level) • ถ้าระดับชั้นขององค์กรมีจำนวนมาก • จะทำให้ช่วงการควบคุมแคบ • อาจส่งผลให้การติดต่อสื่อสารเกิดการสูญหายหรือบิดเบือนไป • ส่วนใหญ่ องค์กรจะกำหนดให้จำนวนชั้นน้อยที่สุด (≤ 4 ชั้น) • อย่างไรก็ตาม ต้องพิจารณาตามความเหมาะสมของแต่ละองค์กร
ช่วงการควบคุมกว้างมากช่วงการควบคุมกว้างมาก
หลักการของการจัดองค์กร (ต่อ) • การจำแนกกลุ่มของกิจกรรม (Subdividing Activities) • หน้าที่ของงาน (Function) • กระบวนการ (Process) • อุปกรณ์ (Equipment) • ทำเล (Location) • ผลิตภัณฑ์ (Product) • กลุ่มของลูกค้า (Classes of Customers)
โครงสร้างองค์กรตามหน้าที่ของงาน (Function)
โครงสร้างองค์กรตามกระบวนการ (Process)
โครงสร้างองค์กรตามอุปกรณ์ (Equipment)
โครงสร้างองค์กรตามทำเล (Location)
โครงสร้างองค์กรตามผลิตภัณฑ์ (Product)
โครงสร้างองค์กรตามกลุ่มของลูกค้า (Classes of Customers)
หลักการของการจัดองค์กร (ต่อ) • ความรับผิดชอบและอำนาจหน้าที่ (Responsibility and Authority) • ผู้ที่ได้รับมอบหมาย ถ้ามีความรับผิดชอบใดๆ จะต้องสามารถมีอำนาจหน้าที่ในการสั่งการควบคู่ไปด้วย • การกำหนดความสามารถและลักษณะจำเป็น (Matching Abilities and Requirements) • แต่ละตำแหน่งงาน ควรกำหนดไว้ เพื่อจะสามารถจัดหาบุคคลแทนได้ในเวลารวดเร็ว ในกรณีขาดบุคลากร
โครงสร้างขององค์กรหรือแผนภูมิขององค์กรโครงสร้างขององค์กรหรือแผนภูมิขององค์กร • โครงสร้างองค์กรแบบงานหลัก (Line Organization) • สายบังคับบัญชาแบบตรงๆ ไม่ซับซ้อนมากนัก • เหมาะกับองค์กรที่เริ่มก่อตั้งและมีขนาดเล็ก • ไม่มีหน่วยงานที่ปรึกษาหรือคณะกรรมการมาช่วย • ข้อดี ::: สะดวกในการติดต่อประสานงาน และสายบังคับบัญชาชัดเจน • ข้อเสีย ::: ผู้บังคับบัญชาสูงสุดรับภาระมาก
ผู้อำนวยการ ฝ่ายผลิต ฝ่ายการเงิน ฝ่ายขาย ฝ่ายบุคคล พนักงาน พนักงาน พนักงาน พนักงาน โครงสร้างแบบงานหลัก
โครงสร้างขององค์กรหรือแผนภูมิขององค์กร (ต่อ) • โครงสร้างองค์กรแบบงานหลักและงานที่ปรึกษา (Line and Staff Organization) • มีหน่วยงานที่ปรึกษา (Staff)มาช่วยทำงานให้กับหน่วยงานหลัก (Line) • ให้คำปรึกษา (Advisory) • ให้การควบคุม (Control) • ให้บริการ (Service) • ให้ความร่วมมือ (Coordinate)
ผู้จัดการใหญ่ ฝ่ายวางแผนและวิจัย ฝ่ายตรวจสอบ ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด ฝ่ายการเงิน ฝ่ายบุคคล วิศวกรรม เคมี โกดัง รับ-จ่าย บัญชี ภาคกลาง ภาคอีสาน ภาคเหนือ ภาคใต้ สรรหา ค่าจ้าง HR โครงสร้างองค์กรแบบงานหลักและงานที่ปรึกษา
โครงสร้างองค์กรแบบงานหลักและงานที่ปรึกษาโครงสร้างองค์กรแบบงานหลักและงานที่ปรึกษา ข้อดี • ความผิดพลาดจากการทำงานลดลง • ลดภาระหน้าที่ของที่ปรึกษา ข้อเสีย • อาจเกิดการขัดแย้งระหว่างหน่วยงานหลักและหน่วยงานที่ปรึกษา • การติดต่อสื่อสารและดำเนินการล่าช้า • พนักงานมีความลังเลใจในการปฏิบัติตามคำสั่ง • ลดความสำคัญของผู้บริหาร ถ้าหน่วยงานที่ปรึกษามีบทบาทมากขึ้น
โครงสร้างขององค์กรหรือแผนภูมิขององค์กร (ต่อ) • โครงสร้างองค์กรแบบเมตริกซ์ (Matrix Organization) • เหมาะกับองค์ขนาดใหญ่ รูปแบบการทำงานเป็นโครงงานต่างๆ อย่างสม่ำเสมอ • จัดหน่วยงานตามหน้าที่งานและทีมโครงงาน • ข้อดี ::: มีการใช้บุคลากรอย่างคุ้มค่า • ข้อเสีย ::: ขาดเอกภาพในการบังคับบัญชา
โครงสร้างองค์กรแบบเมตริกซ์โครงสร้างองค์กรแบบเมตริกซ์ General Manager Project Team
โครงสร้างขององค์กรหรือแผนภูมิขององค์กร (ต่อ) • โครงสร้างองค์กรแบบไม่เป็นทางการ (Informal Organization) • บุคลากรบางตำแหน่งอาจมีความสัมพันธ์ที่ไม่เป็นทางการกับบางตำแหน่ง • ข้อดี ::: อาจทำให้เกิดความร่วมมือกันระหว่างหน่วยงานได้ • ข้อเสีย ::: อาจทำให้เกิดความแตกแยกในองค์กร
โครงสร้างองค์กรแบบไม่เป็นทางการโครงสร้างองค์กรแบบไม่เป็นทางการ 1 2 3 4 21 22 31 32 41 42 211 121 221 311 312 421 411 412
การพัฒนาองค์กร (Organization Development : O.D.) • ริชาร์ด เบคเฮิร์ด ::: “ความพยายามในการเปลี่ยนแปลงโดยมีการวางแผนมุ่งสู่การเปลี่ยนแปลงทั้งระบบโดยเริ่มจากผู้บริหารระดับสูงสุดลงสู่ระดับล่างตามหลักการพฤติกรรมศาสตร์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลขององค์กร” • สภาพการณ์ ที่เป็นผลให้นำหลักการพัฒนาองค์กรมาใช้ • ต้องการเปลี่ยนแปลงแนวยุทธศาสตร์ด้านการจัดการ • เปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมและบรรยากาศขององค์กร • เปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมในการบริหาร เป็นต้น
ขั้นตอนของกระบวนการพัฒนาองค์กรขั้นตอนของกระบวนการพัฒนาองค์กร • กำหนดปัญหา โดยฝ่ายบริหารระดับสูง • สร้างทีมที่ปรึกษา จากภายในและภายนอกองค์กร • รวบรวมข้อมูลและวินิจฉัยปัญหาการทำงานของบุคลากรในองค์กร • ทีมที่ปรึกษาและผู้จัดการสร้างแผนงานเพื่อการเปลี่ยนแปลง • นำแผนงานนั้นมาปฏิบัติงานจริง • ผู้บริหารระดับสูงให้ความร่วมมือ • ทีมที่ปรึกษารวบรวมข้อมูลหลังการปฏิบัติงาน เพื่อวิเคราะห์ ประเมินผลโดยรวม อาจทำให้มีการเปลี่ยนแปลงให้เหมาะขึ้น
การจัดคนเข้าทำงาน (Staffing) • ฝ่ายบริหารงานบุคคล แผนกบุคคล หน่วยงานบริหารทรัพยากรบุคคล (Human Resource Management; HRM) • มีหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับ :::: • การจ้างงาน (Employment):การรับสมัคร (Recruitment) การคัดเลือก (Selection) • การฝึกอบรม (Training) :เพิ่มระดับความสามารถของบุคลากร • สุขภาพ (Health) :ต้องแน่ใจว่าบุคลากรมีสุขภาพดีเยี่ยม
การจัดคนเข้าทำงาน (Staffing) (ต่อ) • ความปลอดภัย (Safety) :ต้องแน่ใจว่าสภาพการทำงานของบุคลากรมีความปลอดภัย • ผลประโยชน์ (Benefits) :จัดการเกี่ยวกับผลประโยชน์พิเศษนอกเหนือจากค่าจ้างหรือเงินเดือน • การบริการ (Service) :จัดโปรแกรมต่างๆ • ความสัมพันธ์ของแรงงาน (Labor Relations) :จัดข้อตกลงต่างๆ กับบุคลากร • การจัดการค่าจ้างและเงินเดือน (Wage and Salary administration) :จัดโปรแกรมการจ่ายเงินเดือน ค่าจ้าง
1. การจ้างงาน • การรับสมัคร::: แหล่งที่มีกำลังคนเป็นจำนวนมาก • แหล่งกำลังคนจากภายในองค์กร • แหล่งกำลังคนจากภายนอกองค์กร • การคัดเลือก • การคัดเลือกโดยการใช้แบบทดสอบ ::: • Performance test , Aptitude test , Personality test • การคัดเลือกโดยการสัมภาษณ์ ::: พูดคุย ถาม-ตอบ
2. การฝึกอบรม • การปฐมนิเทศ (Orientation) • การฝึกอบรมสำหรับการปฏิบัติงานจริง (On-the-Job Training) • การฝึกอบรมในรูปแบบห้องเรียน (Classroom Training) • การฝึกอบรมสำหรับเป็นผู้ปฏิบัติงาน (Apprentice Training) • การฝึกอบรมกับบริษัทที่ยินดีให้ความร่วมมือ (Cooperative Training)
3. สุขภาพ • การทดสอบทางร่างกาย (Physical Examination) • การจัดเตรียมการดูแลสุขภาพทั่วไป (General Treatment) • โปรแกรมทางด้านสุขภาพ (Health Program) 4. ความปลอดภัย • การบริหารงานด้านความปลอดภัยและสุขอนามัยสำหรับแรงงาน
5. ผลประโยชน์ • การลาหยุดพักผ่อน หรือลาพักร้อน • การดูแลทางด้านสุขภาพ อนามัย • การวางแผนสำหรับการประกันชีวิต • เงินบำเหน็จ บำนาญ 6. การบริการ • ระบบสื่อสารที่ใช้สำหรับพนักงานในองค์กร • มีโปรแกรมปฏิบัติงานนอกสถานที่ • โปรแกรมการแข่งกีฬา • สถานที่ในการรับประทานอาหาร
7. ความสัมพันธ์ของแรงงาน • “สหภาพ” ::: กลุ่มตัวแทนพนักงานในการเรียกร้องสิทธิหรือผลประโยชน์ต่างๆ ให้กับพนักงาน 8. การจัดการด้านค่าจ้างและเงินเดือน • “ค่าจ้าง” ::: จำนวนเงินที่คนงานได้รับเป็นการตอบแทนการทำงานโดยถือเกณฑ์จำนวนชั่วโมงทำงาน • “เงินเดือน” ::: จำนวนเงินที่คนงานได้รับเป็นการตอบแทนโดยเหมาเป็นเดือน
การอำนวยการ (Directing) • เป็นหน้าที่เกี่ยวเนื่องจากการจัดคนเข้าทำงาน :::: • การตัดสินใจ (Decision Making) :การตัดสินใจเพื่อเลือกแนวทางที่จะนำไปปฏิบัติและไปสู่เป้าหมายที่ตั้งไว้ • การสั่งการ (Commanding):การที่ผู้บังคับบัญชามอบหมายให้ผู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติหน้าที่ในงานใดๆ • การจูงใจ (Motivating) :แนวคิดเกี่ยวกับแรงจูงใจที่สำคัญ มี 4 แนวคิด
แนวคิดเกี่ยวกับแรงจูงใจแนวคิดเกี่ยวกับแรงจูงใจ • แนวคิดการจูงใจของเทย์เลอร์ • การให้ผลตอบแทนเป็นการจูงใจในการทำงานอย่างหนึ่ง (เงิน) • ค่าตอบแทน แบ่งเป็น 3 ระดับ • ระดับต่ำกว่ามาตรฐาน • เท่ากับมาตรฐาน • สูงกว่ามาตรฐาน • ค่าจ้างหรือเงินเดือน โบนัส เบี้ยเลี้ยง ค่าล่วงเวลา การเลื่อนระดับเงินเดือน เป็นต้น
แนวคิดเกี่ยวกับแรงจูงใจ (ต่อ) • แนวคิดการจูงใจของแมสโลว์ (Abraham Maslow) • ทฤษฎีลำดับความต้องการ (Hierarchy of Needs) ระดับที่ 1 ความต้องการทางด้านร่างกาย การเพิ่มเงินเดือน โบนัส การพักผ่อน สถานรักษาพยาบาล ระดับที่ 2 ความต้องการความมั่นคง การประกันชีวิต การให้หุ้นบริษัท ระดับที่ 3 การยอมรับจากสังคมงานแข่งขันกีฬา เป็นคณะกรรมการ ระดับที่ 4 การภูมิใจในตนเอง มอบความรับผิดชอบให้มากขึ้น ระดับที่ 5 ความต้องการสูงสุด สนับสนุนความคิดริเริ่ม เป็นผู้นำทีมงาน
ทฤษฎีลำดับความต้องการทฤษฎีลำดับความต้องการ ระดับที่ 1 ความอยู่รอดหรือความต้องการด้านร่างกาย ระดับที่ 2 ความปลอดภัยหรือความมั่นคงในหน้าที่การงาน ระดับที่ 3 ความเป็นเจ้าของหรือการยอมรับจากสังคม ระดับที่ 4 การยอมรับในตนเอง ระดับที่ 5 ความสำเร็จสูงสุด