660 likes | 925 Views
ทำไมต้องทำการวิจัย ?. อดีต. ปัจจุบัน. การแก้ไขปัญหาโดยประสบการณ์ส่วนตัว (Experience) หรือ สามัญสำนึก (Common Sense). การแก้ไขปัญหาโดยใช้ทฤษฎีและหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ (Theories and Scientific Evidence). การวิจัย (Research). ความผิดพลาดในการหาความรู้จากประสบการณ์.
E N D
ทำไมต้องทำการวิจัย? อดีต ปัจจุบัน การแก้ไขปัญหาโดยประสบการณ์ส่วนตัว (Experience) หรือ สามัญสำนึก(Common Sense) การแก้ไขปัญหาโดยใช้ทฤษฎีและหลักฐานทางวิทยาศาสตร์(Theories and Scientific Evidence) การวิจัย (Research)
ความผิดพลาดในการหาความรู้จากประสบการณ์ความผิดพลาดในการหาความรู้จากประสบการณ์ • โปรแกรมล้มเหลวเพราะอะไร? => แก้ไขตรงไหน? • โปรแกรมสำเร็จเพราะอะไร? => ทำซ้ำหรือขยายโปรแกรมอย่างไร? ? ปัจจัยนำเข้า ผลลัพธ์
ความผิดพลาดในการหาสรุปความรู้จากประสบการณ์ความผิดพลาดในการหาสรุปความรู้จากประสบการณ์ ค – คลาดเคลื่อน อ - อคติ ก - การกวน
คลาดเคลื่อน จากการสรุปความจริงจากบางเหตุการณ์ 100 100 100 100 100 100 60 100 100 100 (100+100) /2 = 100 (100+60) /2 = 80
อคติ 1 จากประสบการณ์ที่ไม่เป็นตัวแทนของทั้งหมด อัตราการหาย = (600/1000) * 100 = 60% อัตราการหาย = (500/600) * 100 = 83.33%
อคติ 1 จากประสบการณ์ที่ไม่เป็นตัวแทนของทั้งหมด อัตราการหาย = (600/1000) * 100 = 60% อัตราการหาย = (500/600) * 100 = 83.33%
อคติ 1- ตัวอย่าง จากประสบการณ์ที่ไม่เป็นตัวแทนของทั้งหมด • ผลมากขึ้น • ตัวอย่าง • ผลน้อยลง • ตัวอย่าง
อคติ 2 จากการได้ข้อมูล รายงานแพทย์ เรื่องจริง อัตราการทานยา= 900/1000) * 100 = 90% อัตราการทานยา= (990/1000) * 100 = 99%
อคติ 2- ตัวอย่าง จากการได้ข้อมูล • ผลมากขึ้น • ตัวอย่าง • ผลน้อยลง • ตัวอย่าง
อคติ 3 จากการลำดับเหตุการณ์ อัตราการป่วย= 600/1000) * 100 = 60% อัตราการป่วย= (100/500) * 100 = 20%
อคติ 3- ตัวอย่าง จากการลำดับเหตุการณ์ • ผลมากขึ้น • ตัวอย่าง • ผลน้อยลง • ตัวอย่าง
การกวน ชอบสังคม ผู้ชาย ดื่มสุรา
การวิจัยคืออะไร? การศึกษาหาความรู้ หรือความจริง โดยกระบวนการ ที่มีเหตุผล (ทางวิทยาศาสตร์)เป็นที่ยอมรับในวงการ และมีจริยธรรม
การศึกษาแบบใดไม่ใช่วิจัย?การศึกษาแบบใดไม่ใช่วิจัย? การหาข้อเท็จจริง การหาความจริงทั่วไป การวิจัย หลักวิทยาศาสตร์ วิธีการเป็นที่ยอมรับ จริยธรรมในการศึกษา
ความหมายของ R4R • กระบวนการหาความรู้โดยใช้ฐานข้อมูลในงานประจำ • เพื่อสนับสนุนข้อมูลเชิงประจักษ์ ในการพัฒนางานประจำ • การวิเคราะห์ตามหลักวิชาการ แต่ไม่ยึดติดกับรูปแบบการวิจัยที่ซับซ้อน • เป็นต้นทุนในการวิจัยต่อเนื่องที่ซับซ้อน • เป็นเครื่องมือการพัฒนาคนให้สามารถคิดเชิงระบบ
การวิจัยทั่วไป vs. R4R การวิจัยทั่วไป Record for Research Observation Observation Research Question Research Question Hypothesis Data Exploration Data Collection Data Analysis Hypothesis testing Conclusion
7 ขั้นตอนการดำเนินงาน R4R • 1. ตั้งคำถาม • 2. ทบทวนความรู้เดิม • 3. กำหนดตัวแปร • 4. หาแหล่งข้อมูลในงานประจำ • 5. เก็บข้อมูล • 6. วิเคราะห์ข้อมูล • 7. สรุปผล
ตั้งคำถาม – จากปัญหา ปัญหา คือ ? - สิ่งที่คาดหวัง สิ่งที่เป็นอยู่
ตั้งคำถาม – จากความสนใจ
ตั้งคำถาม – จากการสงสัย
เลือกเพราะมีความเป็นไปได้ที่จะทำได้สำเร็จเลือกเพราะมีความเป็นไปได้ที่จะทำได้สำเร็จ Feasibility - Data available - Money/Funding - Do no harm หัวข้อวิจัยไม่ควรกว้างเกิน
เลือกเพราะปัญหานั้นมีความสำคัญในเชิงสาธารณสุขเลือกเพราะปัญหานั้นมีความสำคัญในเชิงสาธารณสุข Importance - High incidence - High prevalence - High mortality and/or fatality - High disability (DALYs) - High Economic impact - Substantial Impact to QOL HIGH PRIORITY HEALTH PROBLEM Community Concern
เลือกเพราะประโยชน์ที่จะได้รับ และการนำผลไปใช้ Benefits - Your benefit - Your workplace, community, institute benefit - National or regional benefit OPTIMALPOLICY - Global benefit
Research question Pick topic Research question Research Question(s)
ตัวอย่างหัวข้อวิจัย R4R รพ. จิตเวชนครราชสีมาราชนครินทร์ • ปัจจัยที่มีผลต่อระยะเวลารอนัดพบแพทย์ของผู้ป่วยใหม่จิตเวชเด็กและวัยร่น • ศึกษาผลการเข้ากลุ่ม “พลังรักครอบครัว” ของญาติในการดูแลผู้ป่วยจิตเภทกับการกลับเป็นซ้ำ • ปัจจัยที่มีผลต่อการฆ่าตัวตายสำเร็จของผู้ป่วยจิตเวชหลังส่งต่อให้ชุมชน • ศึกษาผลของโปรแกรมการฟื้นฟูสมรรถภาพการทำงานในผู้ป่วยจิตเภทเรื้อรัง • การพัฒนารูปแบบการป้องกันผู้ป่วยหลบหนีของโรงพยาบาลจิตเวชนครราชสีมาราชนครินทร์ • การพัฒนาระบบสารสนเทศและตำแหน่งภูมิศาสตร์ของโรงพยาบาลชุมชนตามโครงการระบบจิตแพทย์พี่เลี้ยงร่วมกับ Google map • สาเหตุและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของการผิดนัดในผู้ป่วยจิตเวช
เลือกจากองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง/Research Gaps Knowledge : Scientific literature review - Original research articles - Review articles - Meta-analysis - Guidelines : Expert consultation : Conference/Meeting
Literature and related study review • Find out what is already be done - Methodology - Design - Source of data - Measurement tool • Increase your confidence in your topic • Comparing research on the topic • New idea and approach • Explanation and interpretation • Other research contacts
กำหนดประเด็น – ตัวอย่าง คำถาม: สาเหตุของการหลบหนีของผู้ป่วยในคืออะไร
กำหนดวัตถุประสงค์ ชื่อโครงการ:ปัจจัยที่มีผลต่อระยะเวลารอนัดพบแพทย์ของผู้ป่วยใหม่จิตเวชเด็กและวัยรุ่น คำถามการวิจัย:มีปัจจัยอะไรบ้างที่ทำให้ระยะเวลาการนัดพบแพทย์ของผู้ป่วยใหม่นานกว่า 75 วัน • General objective • เพื่อศึกษาระบบนัดพบแพทย์ของผู้ป่วยใหม่จิตเวชเด็กและวัยรุ่น • Specific objective • เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อระยะเวลารอนัดพบแพทย์ของผู้ป่วยใหม่ • เพื่อประเมินระยะเวลาเฉลี่ยในการนัดพบแพทย์ของผู้ป่วยใหม่
การตั้งสมมุติฐานทางสถิติการตั้งสมมุติฐานทางสถิติ H0 = Null hypothesis HA = Alternative hypothesis ชื่อโครงการ:ปัจจัยที่มีผลต่อระยะเวลารอนัดพบแพทย์ของผู้ป่วยใหม่จิตเวชเด็กและวัยรุ่น สมมุติฐานการวิจัย: • ความรุนแรงของโรค และปัจจัยของครอบครัว เช่น การศึกษาของผู้ปกครอง รายได้ของครอบครัว มีผลต่อระยะเวลารอนัดพบแพทย์ของผู้ป่วยใหม่จิตเวชเด็กและวัยรุ่น
แหล่งข้อมูลในงานจิตเวชแหล่งข้อมูลในงานจิตเวช คำถาม: สาเหตุของการหลบหนีของผู้ป่วยในคืออะไร
เลือกรูปแบบการวิจัย Laboratory Experimental Animal Human X-sectional Assigned Exposure Descriptive Clinical Research Longitudinal No comparison group Natural Exposure X - sectional Observational Comparison group Cohort (Prospective) Analytical Case-control (Retrospective)
รูปแบบการศึกษาแบบสังเกตรูปแบบการศึกษาแบบสังเกต • การศึกษาแบบตัดขวาง (Cross sectional study) • การศึกษาย้อนหลังแบบเปรียบเทียบคนป่วยกับคนปกติ (Case-control study) • การศึกษาโดยการติดตามการป่วยในกลุ่มเสี่ยงไปข้างหน้า (Cohort study)
Disease No Disease (CASES) (CONTROLS) เก็บข้อมูลการมี/ไม่มี Exposure ก่อนเกิดโรค Exposed Not Exposed Exposed Not Exposed Case-control Studies เริ่มต้นที่... ผล เหตุ ที่มา:พญ.ดารินทร์ อารีย์โชคชัย สไลด์การบรรยายเรื่องระบาดวิทยาภาคสนามสำหรับแพทย์ (2549)
ป่วย ไม่ป่วย a b c d มีปัจจัย ไม่มีปัจจัย Case-control Studies :การวิเคราะห์ข้อมูล Disease No Disease (CASES) (CONTROLS) เก็บข้อมูลการมี/ไม่มี Exposure ก่อนเกิดโรค Exposed Exposed Not Exposed Not Exposed a d c b ที่มา:พญ.ดารินทร์ อารีย์โชคชัย สไลด์การบรรยายเรื่องระบาดวิทยาภาคสนามสำหรับแพทย์ (2549)
ป่วย ไม่ป่วย Case-control Studies a b มีปัจจัย c d ไม่มีปัจจัย สัดส่วนของการมีปัจจัยต่อการไม่มีปัจจัยในกลุ่มคนป่วย = a / c สัดส่วนของการมีปัจจัยต่อการไม่มีปัจจัยในกลุ่มคนไม่ป่วย = b / d Odds ratio = a/c ÷ b/d = ad / bc ที่มา:พญ.ดารินทร์ อารีย์โชคชัย สไลด์การบรรยายเรื่องระบาดวิทยาภาคสนามสำหรับแพทย์ (2549)
ตัวอย่างสมมุติ:Case-control Study กับการป่วยซ้ำของโรคจิตเภท ป่วยซ้ำ ไม่ป่วยซ้ำ 40 20 ใช้สารเสพติด 10 80 ไม่ใช้สารเสพติด 50 100 Odds Ratio (OR) = ad/bc =40x 80 20 x 10 = 16 ผู้ป่วยซ้ำมีสัดส่วนของการใช้สารเสพติดเป็น 16 เท่าของผู้ที่ไม่ป่วยซ้ำ ปรับปรุงจาก: พญ.ดารินทร์ อารีย์โชคชัย สไลด์การบรรยายเรื่องระบาดวิทยาภาคสนามสำหรับแพทย์ (2549)
Cohort study : การวิเคราะห์ข้อมูล ความเสี่ยงของการเกิดโรคในกลุ่มที่มีปัจจัยเสี่ยง =a / ( a + b ) ความเสี่ยงของการเกิดโรคในกลุ่มที่ไม่มีปัจจัยเสี่ยง =c / ( c + d ) Risk ratio = a / ( a + b ) c / ( c + d ) ที่มา:พญ.ดารินทร์ อารีย์โชคชัย สไลด์การบรรยายเรื่องระบาดวิทยาภาคสนามสำหรับแพทย์ (2549)
ตัวอย่างสมมุติ:Cohort study กับการฆ่าตัวตายในผู้ประสบภัยสึนามิ Non-exposed Exposed Case Case Non-case Non-case ผู้ที่ประสบภัยมีความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายเป็น 6 เท่าของผู้ที่ไม่ประสบภัย ที่มา:พญ.ดารินทร์ อารีย์โชคชัย สไลด์การบรรยายเรื่องระบาดวิทยาภาคสนามสำหรับแพทย์ (2549)
สร้างแบบเก็บข้อมูล ชื่อ ___________________ สกุล_________________ HN_______________________________ อายุ__________________เพศ_________________ การวินิจฉัย________________________________ เหตุ 1 ________________________________ เหตุ 2 ________________________________ ผล ________________________________