660 likes | 1.21k Views
ความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ. สิรินทร ฉันศิริกาญจน เวชศาสตร์ผู้สูงอายุ ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี. เนื้อหา. ประชากรผู้สูงอายุไทย อุบัติการณ์โรคความดันโลหิตสูง ความแตกต่างที่ต้องคำนึงถึงในผู้สูงอายุ การเปลี่ยนแปลงสภาพร่างกายเนื่องจากการสูงอายุ
E N D
ความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ สิรินทร ฉันศิริกาญจน เวชศาสตร์ผู้สูงอายุ ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี
เนื้อหา • ประชากรผู้สูงอายุไทย • อุบัติการณ์โรคความดันโลหิตสูง • ความแตกต่างที่ต้องคำนึงถึงในผู้สูงอายุ • การเปลี่ยนแปลงสภาพร่างกายเนื่องจากการสูงอายุ • ภาวะแทรกซ้อนเนื่องจากโรคความดันโลหิตสูง • เป้าหมายของการรักษา • การรักษาแบบไม่ใช้ยาและการใช้ยาลดความดัน
ใครคือผู้สูงอายุ คำจำกัดความ องค์การอนามัยโลก > 60 ยุโรปและอเมริกาเหนือ> 65
ข้อมูลประชากรไทย สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล
ประชากรของประเทศไทยเพิ่มจำนวนขึ้นจากเพียง 8 ล้านคน เมื่อ 100 ปีก่อน มาเป็น 63 ล้านคนในปัจจุบัน เท่ากับเพิ่มขึ้นประมาณ 8 เท่าตัว แหล่งที่มา : สำมะโนประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2553-2543 * สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล. การฉายภาพประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2548-2568. นครปฐม : มหาวิทยาลัยมหิดล, 2549.
แนวโน้มของอายุคาดเฉลี่ยของประชากรไทยแนวโน้มของอายุคาดเฉลี่ยของประชากรไทย อายุ (ปี) พ.ศ. แหล่งข้อมูล: 1. พ.ศ. 2480, 2490, 2503: Rungpitarangsi (1974) 2. พ.ศ. 2507-2508, 2517-2519, 2528-2529, 2532, 2534, 2538-2539: รายงานการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร, สำนักงานสถิติแห่งชาติ 3. พ.ศ. 2549 ประมาณโดยสถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล
แนวโน้มอัตราตายทารกของประเทศไทยแนวโน้มอัตราตายทารกของประเทศไทย พ.ศ. 2552 อัตราตายทารก (ต่อ 1,000 การเกิดมีชีพ) หมายเหตุ: ประมาณโดยสถาบันวิจัยประชากรและสังคม จากข้อมูล 1) การสำรวจการเปลี่ยนแปลงประชากร 2) สำมะโนประชากรและเคหะ 3) โครงการสำรวจภาวะ เจริญพันธุ์ของสตรีไทย 4) ทะเบียนราษฎร
ในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2506-2526 มีเด็กเกิดในประเทศไทยมากกว่า 1 ล้านคน ในแต่ละปี ประชากรที่เกิดในช่วงนี้เป็นคลื่นประชากรที่ใหญ่มาก และจะเป็นผู้สูงอายุในไม่ช้า “ประชากรรุ่นเกิดล้าน” ปัจจุบันอายุ 26 – 46 ปี ที่มา: ปราโมทย์ ประสาทกุล และ ปัทมา ว่าพัฒนวงศ์ “สถานการณ์ประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2548” ใน กฤตยา อาชวนิจกุล และ ปราโมทย์ ประสาทกุล (บรรณาธิการ). ประชากรและสังคม 2548.
ปัญหาของประเทศช่วงหลังปี พ.ศ. 2500 คือ การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมตามไม่ทันการเพิ่มประชากร รัฐบาลไทย (จอมพลถนอม กิตติขจร) จึงได้ประกาศนโยบายประชากรตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2513 “รัฐบาลไทยมีนโยบายที่จะสนับสนุนการวางแผนครอบครัว ด้วยระบบใจสมัคร เพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆ เกี่ยวกับอัตราเพิ่มประชากรสูงมาก ที่จะเป็นอุปสรรคสำคัญต่อการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ”
พ.ศ. อัตราเจริญพันธุ์รวม (ต่อสตรีหนึ่งคน) 2507 6.3 2517 4.9 2528 2.7 2534 2.2 2539 2.0 2551 1.5 ภาวะเจริญพันธุ์ของประชากรไทยได้ลดต่ำลงอย่างมาก เมื่อ 50 ปีก่อน ผู้หญิงไทยมีลูกโดยเฉลี่ยมากกว่า 6 คน ปัจจุบัน ผู้หญิงคนหนึ่งมีลูกโดยเฉลี่ยเพียง 1.5 คนเท่านั้น แหล่งข้อมูล: พ.ศ. 2507 2517 2528 และ 2534: รายงานการสำรวจการเปลี่ยนแปลงประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2539: โครงการสำรวจภาวะคุมกำเนิดในประเทศไทย พ.ศ. 2539 พ.ศ. 2548: ประมาณการโดยสถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล
ในรอบ 40 ปีที่ผ่านมา.. - การเกิดน้อยลง ทำให้สัดส่วนของประชากรวัยเยาว์ลดลงอย่างรวดเร็ว - อายุยืนยาวขึ้นทำให้สัดส่วนของประชากรสูงอายุเพิ่มขึ้น 2513 2552 หญิง ชาย หญิง ชาย อายุมัธยฐาน 17.3 ปี อายุมัธยฐาน 32.5 ปี
พ.ศ. 2513 พ.ศ. 2573 พ.ศ. 2533 พ.ศ. 2553 ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง นอกจากจำนวนประชากรของประเทศไทยจะเพิ่มขึ้นจากในอดีตอย่างมากแล้ว โครงสร้างอายุของประชากรก็ได้เปลี่ยนไปอย่างมากด้วย จากประชากรเยาว์วัย เมื่อ 50 ปีก่อน เป็นประชากรสูงอายุในปัจจุบัน และจะยิ่งมีอายุสูงขึ้นอีกในอนาคต แหล่งข้อมูล : พ.ศ. 2513, 2533 สำมะโนประชากรและเคหะ, สำนักงานสถิติแห่งชาติ พ.ศ. 2553, 2573 การฉายภาพประชากรของประเทศไทย, สถาบันวิจัยประชากรและสังคม
ตั้งแต่ประมาณปี พ.ศ.2544 เป็นต้นมา สัดส่วนของประชากรสูงอายุในประเทศไทยได้เพิ่มสูงขึ้นเกินกว่า 10% ซึ่งนับว่าประชากรไทยได้จัดเป็น “ประชากรสูงอายุ” โดยสมบูรณ์แล้ว การเพิ่มประชากรสูงอายุเร็วกว่าที่คิดเพราะ คนอายุยืนขึ้น, สุขภาพดีขึ้นอย่างรวดเร็ว, ค่านิยมการแต่งงาน และการมีลูกลดลงอย่างรวดเร็ว ร้อยละ ระเบิด ผู้สูงวัย สังคมผู้สูงวัย พ.ศ. ที่มา: พ.ศ. 2503 – 2543 จากสำมะโนประชากร (สำนักงานสถิติแห่งชาติ มปปก, มปปข, มปปค, 2545) พ.ศ. 2548 – 2573 คำนวณจากผลการฉายภาพประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2548 – 2658 โดย สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล
ประมาณปี พ.ศ.2563-64 จะเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ประชากรไทย ที่มีสัดส่วนประชากรสูงอายุมากกว่าประชากรเด็ก ร้อยละ 26.9 % 25.1 % 23.0 % 22.7 % 20.7 % 19.8 % 19.0 % 16.8 % 17.2 % 16.0 % 15.1 % 64.1% 62.2% 60.5% 66.0% 67.0% 66.7% 67.4% 14.4 % 14.0 % 13.8 % 11.8 % 10.3 % ปี พ.ศ.
เป็นความดันสูงกันมากไหมเป็นความดันสูงกันมากไหม • สำรวจในชุมชนอายุ71-96 ปี • จากคำจำกัดความขององค์การอนามัยโลก • ความดันสูง> 160/95 mmHg • ความดันก้ำกึ่ง140-159 mmHg • Normotensive 39.4 % • Borderline isolated HT 26.6 % • Isolated systolic HT 13.2 % • Diastolic HT 9.5 % • Mixed 9.3 %
ผู้สูงอายุ ความแตกต่าง ที่ต้องคำนึงถึง
200 180 160 140 120 HEART RATE (HEART BEATS/MINUTE) Men Women Heart Rate =220 – Age (yr) 20 40 60 80
maximal heart rate = 220-age HR response to postural stress, valsava manouer Atrial fibrosis Stroke volume dependent cardiac output Syncope when change of posture Atrial fibrillation Cardiovascular
Myocardial Fiber Responsiveness Ventricular Filling (Venous Return) Intrinsic Rhythmicity Autonomic Regulation Heart Rate Stroke Volume Cardiac Output
หลอดเลือดแดงแข็งตัว ส่วนที่ควบคุมการขยายตัวของหลอดเลือดแดงลดลง ตัวรับความแรงของเลือดเพื่อปรับตัวลดลงDecrease in baro- receptor vasoconstriction and increase peripheral resistance Decrease in heart rate adaptation with postural changes การเปลี่ยนแปลงหัวใจและหลอดเลือด
ภาวะแทรกซ้อนของความดันสูงภาวะแทรกซ้อนของความดันสูง • หัวใจโต • หัวใจโตมีส่วนทำให้หัวใจเต้นผิดจังหวะ • เกิดอัมพาตอัมพฤกษ์ 70% ในหญิง และ 42%ในชายเกิดจาก HT • ค่อย ๆ ทำให้เกิดไตวาย
เมื่อรักษา HT อย่างดีจะหลีกเลี่ยงภาวะแทรกซ้อนเหล่านี้ได้ไหม? ได้แน่นอน
Initial Evaluation of Hypertension in Older Adults • History • Duration • Severity • Treatment • Complications • Other risk factors
Initial Evaluation of Hypertension in Older Adults • Physical examination • Blood pressure both arms, including Osler maneuver and standing determinations • Fundoscopic, vascular, and cardiac examination for end-organ damage • Abdominal bruit • Neurological examination for focal deficits
Initial Evaluation of Hypertension in Older Adults • Laboratory tests • Urinalysis • Electrolytes • Creatinine • Calcium • Chest radiograph • Electrocardiogram
Pseudohypertension:Osler maneuver • วัดความดันตามปกติ • เมื่อเสียงตุบๆ หายไป • ให้คลำที่ชีพจร
Pseudohypertension:Osler maneuver • จะคลำได้หลอดเลือดเป็นลำแข็ง • แปลว่าหลอดเลือดแดงแข็ง • ทำให้วัดความดันได้สูงกว่าเป็นจริง
Secondary hypertensionin older persons • Renovascular disease (atherosclerotic) • Primary hyperaldosteronism • Hyperparathyroidism (calcium) • Estrogen administration • Renal disease (decreased creatinine clearance)
เป้าหมายของการรักษาGoals of treatment • Systolic blood pressure 135-140 mmHg • Diastolic BP 85 mmHg
HOT-elderly 175 180 170 160 150 140 130 LIFE-ISH 174 NICS-EH 171 INSIGHT 173 ANBP-2 168 SCOPE 166 PROGRESS 147 PATE-HT 151 ALLHAT 146 HOPE 139 147 146 145 145 145 142 141 138 134 135 133 71 70 70 72 76 69 65 67 66 64 Mean age (y) Hypertension in the Elderly : Systolic blood pressure (mmHg)
รักษาอย่างไร • ความดันสูงมากน้อยเพียงไร • มีโรคอื่นด้วยไหม
การรักษาโดยไม่ใช้ยาปรับการใช้ชีวิตประจำวันการรักษาโดยไม่ใช้ยาปรับการใช้ชีวิตประจำวัน • ลดน้ำหนัก • ปรับการรับประทานอาหาร • ลดปริมาณเกลือในอาหาร • ลด เลิก แอลกอฮอร์ • ออกกำลังกาย
Lifestyle Modifications to Manage hypertension*┼ AFP 2005; 71 (3)
Lifestyle Modifications to Manage Hypertension*┼ AFP 2005; 71 (3)
Lifestyle Modifications to Manage hypertension*┼ DASH = Dietary Approaches to Stop Hypertension * - For overall cardiovascular risk reduction, stop smoking ┼ - The effects of implementing these modifications are dose and time dependent and could be greater for some individuals. AFP 2005; 71 (3)
First – line therapy = low-dose thiazide diuretics
Second line therapy • Angiotensin converting enzyme inhibitors • Calcium channel blockers • Beta blockers
Comparison of antihypertensive agents in older persons AFP 2005; 71 (3)
Comparison of antihypertensive agents in older persons ACE = angiotensin-converting enzyme; ARBs = angiotensin-receptor blockers; NSAIDS = nonsteroidal anti-inflammatory drugs. AFP 2005; 71 (3)
Comparison of antihypertensive agents in older persons ACE = angiotensin-converting enzyme; ARBs = angiotensin-receptor blockers; NSAIDS = nonsteroidal anti-inflammatory drugs. AFP 2005; 71 (3)
Comparison of antihypertensive agents in older persons ACE = angiotensin-converting enzyme; ARBs = angiotensin-receptor blockers; NSAIDS = nonsteroidal anti-inflammatory drugs. AFP 2005; 71 (3)
Examples of Potentially Clinically Important Drug-Patient Interactions