240 likes | 421 Views
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการเรียนรู้ด้วยการนำตนเองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสกลนคร. โดย นางบุญเลิศ แก้วอุ่นเรือน สาขา วิจัยการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม วิทยาเขตสกลนคร. บทนำ. คุณภาพของคน. มีคุณธรรม.
E N D
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการเรียนรู้ด้วยการนำตนเองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสกลนคร โดย นางบุญเลิศ แก้วอุ่นเรือน สาขา วิจัยการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม วิทยาเขตสกลนคร
บทนำ คุณภาพของคน มีคุณธรรม นวัตกรรมใหม่ๆ การศึกษายุค ศตวรรษที่ 21 รักความเป็นไทย คิดค้นสิ่งประดิษฐ์ ทักษะการคิด วิเคราะห์ ด้านเทคโนโลยี คิดสร้างสรรค์
วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาและตรวจสอบความตรงของโมเดลปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการเรียนรู้ด้วยการนำตนเองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสกลนคร
สมมติฐานการวิจัย • โมเดลปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการเรียนรู้ด้วยการนำตนเองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3ตามสมมติฐานการวิจัยมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์
ขอบเขตการวิจัย • ประชากร ประชากรที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ได้แก่นักเรียนที่กำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ในจังหวัดสกลนคร จำนวน 14,041 คน • กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่นักเรียนที่กำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ในจังหวัดสกลนคร จำนวน 48 โรงเรียน จำนวนห้องเรียน 56 ห้องเรียน และจำนวนนักเรียน 1,530 คน นักเรียนชายจำนวน 705 คน นักเรียนหญิงจำนวน 825 คน ที่ได้จากการสุ่มแบบแบ่งชั้น(Stratified Random Sampling)
ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย การวิจัยครั้งนี้ ดำเนินการโดยใช้กรอบแนวคิดตามรูปแบบโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุเพื่อให้ได้ข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์ จึงต้องเก็บข้อมูลโดยการวัดจากตัวแปรแฝง 7ตัว ได้แก่ • 1. พฤติกรรมการเรียนรู้ด้วยการนำตนเอง • 2. การเห็นคุณค่าในตนเอง ตัวแปรแฝงภายใน • 3. แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ (Endogenous • 4. วินัยในตนเอง Latent variables) • 5. สัมพันธภาพกับเพื่อน ตัวแปรแฝงภายนอก • 6. การอบรมลี้ยงดูแบบประชาธิปไตย (Exogenous • 7. ความพร้อมของแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ Latent variables)
กรอบแนวคิดการวิจัย ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี เอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ด้วยการนำตนเอง ของโนลส์ (Knowl) • การวิเคราะห์ความต้องการของตนเอง • การกำหนดจุดมุ่งหมายของการเรียนรู้ • การวางแผนการเรียนรู้ • การแสวงหาแหล่งวิทยาการในการเรียนรู้ • การประเมินผลการเรียนรู้
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย • แบบสอบถามจำนวน 1 ฉบับ • ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการเรียนรู้ด้วยการนำตนเอง • เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ Rating Scale ตามแบบของลิเคิร์ท(Likert) มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ 0.96
สถิติที่ใช้ในการวิจัยสถิติที่ใช้ในการวิจัย การหาคุณภาพเครื่องมือ สถิติใช้วิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน ค่าIOC ค่าเฉลี่ย ค่าอำนาจจำแนก ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าความเชื่อมั่น ค่าความเบ้ ค่าความโด่ง สถิติที่ใช้ตรวจสอบความกลมกลืนของโมเดล ไค-สแควร์ ดัชนีวัดความกลมกลืน(GFI) ดัชนีวัดความกลมกลืน ที่ปรับแก้(AGFI) ดัชนีของกำลังสองเฉลี่ยของเศษ(RMR)
ตารางวิเคราะห์ข้อคำถามการวิจัยตารางวิเคราะห์ข้อคำถามการวิจัย
การเก็บรวบรวมข้อมูล • นำหนังสือขอความอนุเคราะห์จากมหาวิทยาลัยไปยังโรงเรียนกลุ่มตัวอย่าง • ประสานเพื่อยืนยันความพร้อมของโรงเรียนในการเก็บรวบรวมข้อมูล • ยื่นหนังสือของความอนุเคราะห์ต่อผู้บริหาร • เก็บข้อมูลด้วยตนเอง / โรงเรียนเก็บให้แล้วมารับข้อมูลภายหลัง • ตรวจสอบเพื่อ/คัดเลือกแบบสอบถามและบันทึกข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล AMB AT CO AN ATT CON 0.63 0.76 WH 0.81 0.59 0.85 0.71 0.82 0.60** AM 0.88** 0.72 RE OP -0.09* 0.60** SEE 0.55 AC AN -0.03 0.60** 0.74 GO 0.24* LO 0.95 0.62 0.32** -0.02 DR SDL 1.00 0.74 PL AD 0.09* 0.17** 0.84 1.00 SC BE 0.04* -0.04 0.05* 0.81 0.02 SD EV 0.01 MAT 0.67 RL 0.04 AL 0.83 0.67 0.76 0.65 REG RES ON MAN 0.78 /df = 0.990 ==201.99,df=204,p=0.527.RMSEA=0.000,CFI=1.00,GFI=0.990,AGFI= 0.980,
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล - การตรวจสอบความสอดคล้องกลมกลืนของรูปแบบความสัมพันธ์ ตามสมมติฐานการวิจัย พบว่า โมเดลมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยพิจารณาค่า ไค-สแควร์=201.99,df=204,p=0.527. RMSEA=0.000,CFI=1.00,GFI=0.990,AGFI=0.980, RMR=0.016 ไค-สแควร์/df=0.990 - ค่า p มีค่ามากพอที่จะไม่ปฏิเสธสมมติฐาน - ค่า GFI และ AGFI มีค่าเข้าใกล้ 1 จึงยอมรับสมมติฐาน - โมเดลที่พัฒนาขึ้นสามารถอธิบายความแปรปรวนของพฤติกรรมการเรียนรู้ด้วยการนำตนเองได้ร้อยละ87
ผลการวิเคราะห์อิทธิพลรวมผลการวิเคราะห์อิทธิพลรวม อิทธิพลทางตรง อิทธิพลทางอ้อม อิทธิพลทางตรง &อ้อม สัมพันธภาพกับเพื่อน (AM,SEE) แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ การเห็นคุณค่าในตนเอง (SEE,SD) ส่วนด้านความพร้อมของแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้มีอิทธิพลทางลบต่อปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการเรียนรู้ด้วยการนำตนเอง (AM,SD) วินัยในตนเอง (SEE) การอบรมเลี้ยงดูแบบประชาธิปไตย (AM,SD)
อภิปรายผล เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลทางตรงต่อพฤติกรรมการเรียนรู้ด้วยกานำตนเอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แสดงว่านักเรียน SEE สูง จะทำให้มี SDL สูง การเห็นคุณค่า ในตนเอง ประเมินจากความรู้ ความสามารถและผลงาน เชื่อมั่นในตนเอง ปรับตัวได้ดี มีความกระตือรือร้น สามารถใช้ศักยภาพของตนเองได้เต็มที่ในการดำเนินชีวิต นักการศึกษา/งานวิจัย - Coopersmith - หทัยกาญจน์ บัวหนอง - ศรันย์ ฟูงาม
อภิปรายผล(ต่อ) เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลทั้งทางตรง&ทางอ้อมต่อพฤติกรรมการเรียนรู้ด้วยการนตนเอง ส่งผลทางอ้อมผ่านการเห็นคุณค่าในตนเองและความมีวินัยในตนเอง เป็นการส่งผลทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ผู้ที่มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์สูง นอกจากจะเป็นผู้ที่มีพฤติกรรม การเรียนรู้ด้วยตนเองสูงแล้ว ยังเป็นผู้ที่มีวินัยในตนเองสูง และยังส่งผลให้เกิดพฤติกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเองด้วย แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ ผู้ที่มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์เป็นผู้ที่มีความมุ่งมั่น ตั้งใจ มีวิริยะ อุตสาหะ มีความเพียรพยายามในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆอย่างไม่ย่อท้อ นักการศึกษา/งานวิจัย McClelland/กนกวรรณ ศรีลาเลิศ ,สุรีรัตน์ ศรีบุญเรือง
อภิปรายผล(ต่อ) มีอิทธิพลทางตรงและทางอ้อมต่อพฤติกรรมการเรียนรู้ด้วยการนำตนเอง ส่งผลทางอ้อมผ่านแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ และการเห็นคุณค่าในตนเอง ส่งผลทางบวกต่อพฤติกรรมการเรียนรู้ด้วยการนำตนเอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 แสดงว่านักเรียนที่มีสัมพันธภาพกับเพื่อนที่ดี จะมีพฤติกรรมการเรียนรู้ด้วยการนำตนเองสูง สัมพันธภาพกับเพื่อน กลุ่มเพื่อนช่วยเชื่อมโยงชีวิตภายในครอบครัว ชีวิตการเรียน และกำหนดเป้าหมายในการเรียน ช่วยเป็นกำลังใจ ช่วยเหลือเกื้อกูล ให้การยอมรับ ยกย่องในกลุ่มเพื่อน นักการศึกษา/งานวิจัย McClelland/สุทธินี ทองหล่อ,มรุต ก้องวิริยะไพศาล,ปรินดา ตาสี
อภิปรายผล (ต่อ) มีอิทธิพลทางตรงและทางอ้อมต่อพฤติกรรมการเรียนรู้ด้วยการนำตนเอง โดยส่งผ่านแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ และวินัยในตนเอง ส่งผลในทางบวกผ่านตัวแปรทั้งสองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 การอบรมเลี้ยงดู แบบประชาธิปไตย นักเรียนที่มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ และมีวินัยในตนเองนั้นมาจาก การได้รับการอบรมเลี้ยงดูจากครอบครัวในลักษณะแบบประชาธิปไตย ได้รับความอิสระในการกระทำ ความคิด ความอ่าน การตัดสินใจ ด้วยตนเองการปฏิบัติตนของพ่อ แม่ ด้วยความยุติธรรม ไม่เข้มงวดจนเกินไป ลูกมีความมั่นใจในตนเอง มีกำลังใจ อบอุ่นใจในการคิด มีระเบียบปฏิบัติ นักการศึกษา/งานวิจัย/พัชรี แสงมะสม
อภิปรายผล(ต่อ) มีอิทธิพลทางตรงและทางอ้อมต่อพฤติกรรมการเรียนรู้ด้วยการนำตนเอง โดยส่งผลทางอ้อมผ่านการเห็นคุณค่าในตนเอง และวินัยในตนเอง ส่งผลทางบวกต่อพฤติกรรมการเรียนรู้ด้วยการนำตนเอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ความมีวินัยในตนเองเป็นลักษณะการนำตนเอง การควบคุมหรือการบังคับตนเอง วินัยในตนเอง เป็นบุคคลที่ตรงต่อเวลา ปฏิบัติตนตามกฎระเบียบของสังคม มีความรับผิดชอบ มีความมั่นใจ มีความจริงใจ มีความซื่อสัตย์ นักการศึกษา/งานวิจัย ดวงเดือน พันธุมนาวิน/ มรุต ก้องวิริยะไพศาล
อภิปรายผล(ต่อ) ส่งผลทางอ้อมผ่านแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ และความมีวินัยในตนเอง อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 ส่งผลทางลบต่อพฤติกรรมการเรียนรู้ด้วยการนำตนเอง แสดงว่านักเรียนที่ขาดความพร้อมของแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ ส่งผลให้นักเรียนมีพฤติกรรมการเรียนรู้ด้วยการนำตนเองต่ำ ความพร้องของแหล่ง ทรัพยากรการเรียนรู้ เป็นโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาระดับตำบลและหมู่บ้าน ร้อยละ 61.7 โรงเรียนขนาดเล็กและขนาดกลาง ร้อยละ79.8 ซึ่งผู้ปกครองมีอาชีพทำไร่ ทำนา ร้อยละ 68.3 เป็นกลุ่มที่ขาดความพร้อม/ที่มีอยู่ไม่เพียงพอ/ขาดคุณภาพ/ ผู้ปกครองไม่สามารถสร้างความพร้อมในส่วนนี้ทดแทนให้ได้
ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้ - พ่อแม่ ผู้ปกครองควรตระหนักถึงความสำคัญ ช่วยกันดูแลและส่งเสริมเด็กในทางที่ถูกต้อง และมีพฤติกรรมการเรียนรู้ที่ดีต่อไป - ครู อาจารย์ ผู้บริหารและผู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาให้เด็กเกิดพฤติกรรมการเรียนรู้ที่ถาวร ยั่งยืน เป็นการเรียนรู้ตลอดชีวิต ข้อเสนอแนะเพื่อการทำวิจัยครั้งต่อไป - ควรศึกษา ปัจจัยทางจิต ปัจจัยทางสังคม และปัจจัยทางสภาพแวดล้อม ให้ครอบคลุม - ควรศึกษาลักษณะของกลุ่มตัวอย่างในระดับอื่นๆ