1 / 59

การพัฒนาระบบบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์

การพัฒนาระบบบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์. บรรยายโดย สุพรรณี ไพรัชเวทย์ 15 มกราคม 2545 ณ กรมชลประทาน. หัวข้อ. แนวคิดของ RBM เหตุผลที่ต้องนำ RBM มาใช้ รูปแบบของการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ วิธีการพัฒนาระบบ RBM ประโยชน์ของ RBM รูปแบบรายงาน เงื่อนไขความสำเร็จ. หัวข้อ.

waldo
Download Presentation

การพัฒนาระบบบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพัฒนาระบบบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์การพัฒนาระบบบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ บรรยายโดย สุพรรณี ไพรัชเวทย์ 15 มกราคม 2545 ณ กรมชลประทาน

  2. หัวข้อ • แนวคิดของ RBM • เหตุผลที่ต้องนำ RBM มาใช้ • รูปแบบของการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ • วิธีการพัฒนาระบบ RBM • ประโยชน์ของ RBM • รูปแบบรายงาน • เงื่อนไขความสำเร็จ

  3. หัวข้อ • เหตุผลที่ต้องนำ RBM มาใช้ • รูปแบบของการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ • วิธีการพัฒนาระบบ RBM • ประโยชน์ของ RBM • รูปแบบรายงาน • เงื่อนไขความสำเร็จ แนวคิดของ RBM

  4. ผลสัมฤทธิ์ (Results) ผลผลิต (Outputs) ผลลัพธ์ (Outcomes) การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Result Based Management - RBM) คือ วิธีการบริหารจัดการที่เป็นระบบที่มุ่งเน้นที่ผลสัมฤทธิ์ หรือผลการปฏิบัติงานเป็นหลัก โดยมีการวัดผลการ ปฏิบัติงานที่ชัดเจน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

  5. ผลผลิต กิจกรรม งาน หรือบริการที่ทำเสร็จสมบูรณ์แล้ว เพื่อส่งให้ผู้รับบริการ ผลลัพธ์ เหตุการณ์ สิ่งที่เกิดขึ้น หรือเงื่อนไขที่เกิดขึ้นนอกโครงการ และมีความเกี่ยวข้องโดยตรง ต่อผู้ใช้บริการ และสาธารณะ

  6. ผลผลิต คือ สิ่งของหรือบริการที่เป็นรูปธรรมหรือรับรู้ได้ ที่จัดทำหรือผลิตโดยหน่วยงานของรัฐ เพื่อให้ บุคคลภายนอกได้ใช้ประโยชน์ เป็น คำตอบที่ว่าจะได้รับอะไรจากการผลิต หรือการจัดจ้าง/จัดซื้อ

  7. ผลลัพธ์ หมายถึง ผลประโยชน์ที่ได้จากผลผลิตและผลกระทบ ที่มีต่อชุมชนและสิ่งแวดล้อมจากการใช้ประโยชน์ จากสินค้าและบริการที่จัดทำหรือผลิตขึ้นมา โดยหน่วยงานของรัฐ เป็น คำตอบที่ว่าทำไมจึงมีการผลิต หรือมีการจัดจ้าง/จัดซื้อผลผลิตนั้น

  8. RBM:Results เกี่ยวข้องกับทุกกระบวนการของการบริหาร A P C D PLAN วัตถุประสงค์/เป้าหมายชัดเจน(ต้องการผลสัมฤทธิ์อะไร) DO ปฏิบัติมุ่งให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามที่วางแผนไว้ CHECK วัดว่าปฏิบัติได้ผลสัมฤทธิ์ตามที่วางแผนหรือไม่(KPI ชัดเจน) ACT ปรับปรุงแก้ไขให้ได้ตามที่วางแผนไว้

  9. กรอบความคิดเรื่องการวัดผลสัมฤทธิ์กรอบความคิดเรื่องการวัดผลสัมฤทธิ์ ผลสัมฤทธิ์ RESULTS วัตถุประสงค์ OBJECTIVES ปัจจัยนำเข้า INPUTS กิจกรรม PROCESSES ผลผลิต OUTPUTS ผลลัพธ์ OUTCOMES ความประหยัด ความมีประสิทธิภาพ ความมีประสิทธิผล

  10. หัวข้อ • ้ • รูปแบบของการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ • วิธีการพัฒนาระบบ RBM • ประโยชน์ของ RBM • รูปแบบรายงาน • เงื่อนไขความสำเร็จ แนวคิดของ RBM เหตุผลที่ต้องนำ RBM มาใช้

  11. สาเหตุที่ต้องบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์สาเหตุที่ต้องบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ วิกฤตการณ์เศรษฐกิจ / ทรัพยากรจำกัด ความต้องการของประชาชนที่มากขึ้น การแข่งขันที่รุนแรงขึ้น ประสบการณ์ของต่างประเทศ การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ รัฐธรรมนูญ + นโยบาย

  12. การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ ความคล่องตัว ยืดหยุ่นในการบริหาร ความคุ้มค่า มีประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความรับผิดชอบ การบริหารเชิงกลยุทธ์

  13. มาตรา 75 ….รัฐต้องดูแลให้มีการปฏิบัติตามกฎหมาย คุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ของบุคคล จัดระบบงานของกระบวนการยุติธรรม ให้มีประสิทธิภาพ และอำนวยความยุติธรรมแก่ประชาชนอย่างรวดเร็วและเท่าเทียมกัน รวมทั้งจัดระบบงานราชการและงานของรัฐอย่างอื่นให้มีประสิทธิภาพ เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน …..รัฐต้องจัดสรรงบประมาณ………………………… มาตรา 82 ….รัฐต้องจัดและส่งเสริมการสาธารณสุขให้ประชาชนได้รับบริการ ที่ได้มาตรฐานและมีประสิทธิภาพอย่างทั่วถึง…..

  14. นโยบาย แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฯ ฉบับที่ 8 ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการสร้างระบบบริหารกิจการ บ้านเมืองและสังคมที่ดี พ.ศ. 2542 ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการปฏิบัติราชการเพื่อ ประชาชนของหน่วยงานภาครัฐ มติ ค.ร.ม. 30 ธ.ค. 40 “แผนปฏิบัติการตามมาตรการปรับภาคราชการในสภาวะ วิกฤตทางเศรษฐกิจ”

  15. มติ ค.ร.ม. 27 ต.ค. 41 “ระบบมาตรฐานสากลของประเทศไทยด้านการจัดการ และสัมฤทธิ์ผลของงานภาครัฐ” (Thailand International Public Sector Standard Management System and Outcomes) มติ ค.ร.ม. 11 พ.ค. 42 “แผนปฏิรูประบบบริหารภาครัฐ” มติ ค.ร.ม. 20 ก.ค. 42 “การจัดวางระบบการประเมินผลหน่วยงานและ โครงการในระบบเปิด” มติ ค.ร.ม. 3 เม.ย. 44 “การปรับปรุงประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงานราชการ”

  16. แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8 “ให้กรมสร้างเครื่องมือการวัดและประเมิน ประสิทธิภาพและประสิทธิผลการบริหารงาน”

  17. ระเบียบสำนักนายกฯ ว่าด้วยการสร้างระบบบริหารกิจการ บ้านเมืองและสังคมที่ดี พ.ศ. 2542 “ภาครัฐ ต้องมีการปฏิรูปบทบาทหน้าที่ โครงสร้างและ กระบวนการทำงานของหน่วยงานและกลไกการบริหารภาครัฐ ให้เป็นกลไกการบริหารทรัพยากรของสังคมที่โปร่งใส ซื่อตรง เป็นธรรม มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และสมรรถนะสูงในการ นำบริการของรัฐที่มีคุณภาพไปสู่ประชาชน โดยเน้นการเปลี่ยน ทัศนคติ ค่านิยม และวิธีทำงานของเจ้าหน้าที่รัฐ ให้ถือเอา ประโยชน์ของประชาชนเป็นจุดมุ่งหมายในการทำงาน และ สามารถร่วมทำงานกับประชาชนและภาคเอกชนได้อย่างราบรื่น”

  18. THAILAND INTERNATIONAL P.S.O. ระบบมาตรฐานคุณภาพด้านการ บริหารจัดการ (Quality Standard of Management System) มาตรฐานสัมฤทธิ์ผลของการปฏิบัติ (Standard Achievement Outcomes) ระบบข้อมูล ผลงาน/ผลผลิต (Performance outputs) ระบบการสื่อสาร ระบบการตัดสินใจ ผลลัพธ์ (Outcomes) ระบบการพัฒนาบุคลากร ระบบการตรวจสอบถ่วงดุล ผลลัพธ์บั้นปลาย (Ultimate Outcomes) ระบบการมีส่วนร่วม ระบบการบริการภาคเอกชน ประชาชน ระบบป้องกันผลลัพธ์บั้นปลายที่ไม่พึงปรารถนา (Prevention System of Unintended Consequences) ระบบการประเมินผล ระบบการคาดคะเนและการแก้ไขวิกฤต ระบบวัฒนธรรมและจรรยาวิชาชีพ

  19. แผนปฏิรูประบบบริหารภาครัฐแผนปฏิรูประบบบริหารภาครัฐ (มติ ค.ร.ม. 11 พ.ค. 42 ค.ก.ก.ปฏิรูประบบราชการ การปรับเปลี่ยนบทบาท ภารกิจ และ วิธีการบริหารงาน ของภาครัฐ การปรับเปลี่ยนระบบงบประมาณ การเงินและการพัสดุ การปรับเปลี่ยนระบบบริหารงานบุคคล การปรับเปลี่ยนกฎหมาย การปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมและค่านิยม

  20. การปรับเปลี่ยนบทบาท ภารกิจและวิธีการ บริหารงานภาครัฐ ทบทวนบทบาท ภารกิจหน่วยงานของรัฐ สร้างแผนกลยุทธ์ของหน่วยงานของรัฐ พัฒนาระบบข้อมูลและเทคโนโลยีภาครัฐ สร้างมาตรฐานการให้บริการ การมีส่วนร่วมของผู้รับบริการ สร้างระบบประเมินผลการดำเนินการของส่วนราชการ ให้สนับสนุนการบริหารที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ กำหนดบทบาทที่ชัดเจนของข้าราชการการเมือง และข้าราชการประจำ

  21. การจัดวางระบบการประเมินผลหน่วยงานและโครงการในระบบเปิดการจัดวางระบบการประเมินผลหน่วยงานและโครงการในระบบเปิด (มติ ค.ร.ม. 20 ก.ค. 42) *ให้ทุกส่วนราชการมีการประเมินผลหน่วยงานและโครงการในระบบเปิด ซึ่งประกอบด้วย 3 มิติ 1. ประชาชน(ผู้รับบริการ/ผู้บริโภค/ผู้ได้รับประโยชน์จากการพัฒนา เป็นผู้ให้ข้อมูลผลการประเมินโดยตรง หรือเป็นผู้ประเมินโดยตรง 2. องค์กรกลางในการประเมินผล ควรเป็นหน่วยงานที่ไม่มีส่วนได้ ส่วนเสียกับการดำเนินการ มีความเป็นกลาง มีความชำนาญ น่าเชื่อถือและได้รับการยอมรับจากทุกฝ่าย 3. เกณฑ์มาตรฐานและตัวชี้วัดเป็นรูปธรรมในเชิงผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบ

  22. ค่านิ้ยมสร้างสรรค์ของเจ้าหน้าที่ของรัฐค่านิ้ยมสร้างสรรค์ของเจ้าหน้าที่ของรัฐ • กล้ายืนหยัดทำในสิ่งที่ถูกต้อง • ซื่อสัตย์และมีความรับผิดชอบ • โปร่งใส ตรวจสอบได้ • ไม่เลือกปฏิบัติ • มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน

  23. มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน • ทำงานให้แล้วเสร็จตามกำหนด เกิดผลดีแก่หน่วยงาน • และส่วนราชการ • ใช้ทรัพยากรของทางราชการ ให้คุ้มค่าเสมือนหนึ่ง • การใช้ทรัพยากรของตนเอง • เน้นการทำงานโดยยึดผลลัพธ์เป็นหลัก มีการวัด • ผลลัพธ์และค่าใช้จ่าย

  24. การบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์การบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ • ทุกส่วนราชการต้องกำหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมายการดำเนินการ ดัชนีชี้วัดผลสัมฤทธิ์ของงานอย่างเป็นรูปธรรม และวิธีการ วัดผลสัมฤทธิ์ ตลอดจนข้อตกลงผลงานไว้ล่วงหน้า เพื่อใช้ประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลของส่วนราชการ • การจัดทำวัตถุประสงค์ เป้าหมาย ดัชนีชี้วัดและวิธีการวัด ตลอดจนข้อตกลงผลงาน ต้องจัดทำทุกระดับลดหลั่นกันลงมา จากระดับกระทรวง กรม สำนัก/กอง ฝ่าย/งานและระดับบุคคล

  25. หัวข้อ • เหตุผลที่ต้องนำ RBM มาใช้ • วิธีการพัฒนาระบบ RBM • ประโยชน์ของ RBM • รูปแบบรายงาน • เงื่อนไขความสำเร็จ แนวคิดของ RBM รูปแบบของการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์

  26. การพัฒนาระบบการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์การพัฒนาระบบการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (ตามโครงการราชการเพื่ออนาคต ซึ่งดำเนินการเสร็จสิ้นแล้ว) กลุ่มกระทรวงด้านเศรษฐกิจ ภาคส่งออก กระทรวงพาณิชย์ ก.การคลัง ก.อุตสาหกรรม ก.เกษตรและสหกรณ์ ท.ค. ค.ต. ศ.ก. กรมการประกันภัย ส.ป. ค.น. ส.อ. ท.ป.

  27. การพัฒนาระบบการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์การพัฒนาระบบการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (ดำเนินการในปี 2544 จำนวน 13 กรม) กลุ่มกระทรวง ด้านเศรษฐกิจ กลุ่มกระทรวง ด้านสังคม กลุ่มกระทรวงด้านนโยบายการบริหารฯ • กรมการศาสนา • กรมการแพทย์ • สำนักงานประกันสังคม • กรมสวัสดิการและคุ้มครอง • แรงงาน • กรมอุตุนิยมวิทยา • กรมส่งเสริมการเกษตร • กรมควบคุมมลพิษ • สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง • สำนักงานมาตรฐาน • ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม • สำนักงานพลังงานปรมาณู • เพื่อสันติ • กรมที่ดิน • สำนักงาน ก.พ. • กรมประมง

  28. การพัฒนาระบบการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์การพัฒนาระบบการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (ดำเนินการในปี 2545 จำนวน 19 กรม) กลุ่มกระทรวง ด้านเศรษฐกิจ กลุ่มกระทรวงด้าน นโยบายการบริหารฯ กลุ่มกระทรวง ด้านสังคม • กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน • สำนักงานปลัดกระทรวง • แรงงานฯ • กรมการจัดหางาน • กรมคุมประพฤติ • กรมการพัฒนาชุมชน • สำนักเลขาธิการ • คณะรัฐมนตรี • กรมชลประทาน • กรมวิชาการเกษตร • สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร • กรมการบินพาณิชย์ • กรมทางหลวง • กรมสรรพสามิต • กรมธนารักษ์ • กรมศุลกากร • กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม • สำนักนโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม • สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน • กรมโรงงานอุตสาหกรรม • สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

  29. การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์กับการบริหารงานเชิงกลยุทธ์การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์กับการบริหารงานเชิงกลยุทธ์ การวางแผนกลยุทธ์ การนำแผนไปปฏิบัติ การควบคุม กำหนด กลยุทธ์ เพื่อ การบรรลุ วิสัยทัศน์ กำหนดวัตถุ ประสงค์ ระยะสั้นและ ระยะยาว จัดทำแผน ปฏิบัติการ ดำเนินการ ตามแผนที่ กำหนด ประเมินผล การปฏิบัติงาน ตามแผน พัฒนาวิสัยทัศน์ และพันธกิจ ขององค์กร การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ สร้างวัฒนธรรมการบริหารผลการปฏิบัติงาน • ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน • มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อเพิ่ม • มาตรฐานการจัดสรรงบประมาณ • จัดทำในระดับแผนงานหรือ • โครงการ • การจัดสรรทรัพยากรขึ้นอยู่ • กับผลการปฏิบัติงาน ทบทวนแผนกลยุทธ์ กำหนด CSFs &KPIsด้วย Balanced Scorecard พัฒนากรอบ และ กระบวนการ ทดลอง ปฏิบัติ และขยายผล ติดตาม และ ปรับปรุง การสื่อสาร การมีส่วนร่วม และการสร้างข้อผูกมัด

  30. พันธกิจ (Mission) วิสัยทัศน์ (Vision) เป้าประสงค์รวม (Overall Goals) กลยุทธ์ที่สำคัญ Balanced Scorecard การเงิน ผู้รับบริการ องค์กร นวัตกรรม CSF CSF CSF CSF KPI KPI KPI KPI

  31. Balanced Scorecard * ค.ศ. 1992 Robert S. Kaplan และDavid P. Norton * วิธีการประเมินองค์กรอย่างเป็นระบบ โดยมุ่งเน้น ประเมินในด้านที่สำคัญ ๆ *Balanceด้านต่าง ๆ ที่ต้องการประเมิน *Scorecard แสดงผลรวม/สรุปของการดำเนินงาน ทำให้ทราบผลการดำเนินการได้ภายใน เวลาที่รวดเร็ว

  32. ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ (Critical Success Factor) ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จมาจากการตอบคำถามว่า “สิ่งที่เราต้องทำให้มีหรือให้เกิดขึ้น เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ ขององค์กรคืออะไร”

  33. ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานหลักตัวชี้วัดผลการดำเนินงานหลัก (Key Performance Indicator) ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานหลักสื่อสารความคืบหน้า ของการบรรลุปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ ตัวชี้วัด ผลการดำเนินงานหลักสามารถตอบคำถามที่ว่า “เราจะวัดความก้าวหน้าของการบรรลุปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ ได้อย่างไร”

  34. Balanced Scorecard Applied Model แนวคิดด้านผู้มีส่วนเกี่ยวข้องภายนอก องค์กร (External Perspective) การมองนอกองค์กรไปยังผู้มีส่วน เกี่ยวข้อง เช่น รัฐบาล ลูกค้า ผู้รับบริการสาธารณชนและสิ่งแวดล้อมภายนอก แนวคิดด้านการเงิน (Financial perspective) แนวคิดด้านองค์ประกอบภายใน องค์กร (Internal Perspective) การมองภายในองค์กรถึงบุคลากร กระบวนการทำงาน โครงสร้างองค์กร รวมถึงการบริหารทรัพยากรบุคคล สมรรถนะของบุคลากร พฤติกรรมองค์กร วัฒนธรรม ค่านิยม กระบวนการและแนวทางปฏิบัติ ความรับผิดชอบขององค์กรในด้านความประหยัด ความมีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่าของเงินและผลิตภาพ รวมไปถึงการทุจริตและประพฤติมิชอบ แนวคิดด้านนวัตกรรม (Innovation perspective) ความสามารถขององค์กรในอนาคต ความสามารถในการเปลี่ยนแปลง พัฒนา ปรับปรุง และปฏิบัติอย่างมี กลยุทธ์ มีความคิดริเริ่ม

  35. หัวข้อ • เหตุผลที่ต้องนำ RBM มาใช้ • รูปแบบของการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ • ประโยชน์ของ RBM • รูปแบบรายงาน • เงื่อนไขความสำเร็จ แนวคิดของ RBM วิธีการพัฒนาระบบ RBM

  36. การพัฒนาระบบการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์การพัฒนาระบบการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ 1 การวิเคราะห์ วิสัยทัศน์และพันธกิจ 2 9 การกำหนด CSFs การรายงาน 8 3 การวิเคราะห์ ข้อมูล การกำหนด KPIs 7 4 การบันทึกและอนุมัติข้อมูล การกำหนด เป้าหมาย 6 5 การรวบรวม ข้อมูล การกำหนด แหล่งข้อมูล

  37. เกณฑ์การกำหนดปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จเกณฑ์การกำหนดปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ เกี่ยวข้องกับผลสัมฤทธิ์โดยมุ่งความสำคัญที่ผลผลิตและผลลัพธ์ เชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์ขององค์กร เฉพาะเจาะจงและสามารถเข้าใจได้ เป็นที่ยอมรับจากระดับผู้บริหาร อยู่ภายใต้อิทธิพลการควบคุมขององค์กร

  38. เกณฑ์กำหนดตัวชี้วัดผลการดำเนินงานหลักเกณฑ์กำหนดตัวชี้วัดผลการดำเนินงานหลัก pecific - เฉพาะเจาะจง ชัดเจน S M A R T easurable - สามารถวัดได้ chievable - สามารถบรรลุได้ ealistic - สอดคล้องกับความเป็นจริง imely - วัดได้เหมาะสมตามช่วงเวลาที่กำหนด

  39. ค่าของตัวชี้วัด แสดงเป็นตัวเลขในลักษณะของ : ร้อยละ (Percentage) อัตราส่วน(Ratio) อัตรา(Rate) สัดส่วน (Proportion) จำนวน(Number) ค่าเฉลี่ย(Average or Mean)

  40. ตัวอย่าง ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานหลัก ประเภทของตัวชี้วัด สิ่งที่วัด คุณภาพ เกี่ยวกับผู้รับบริการ ความเหมาะสมของเวลา ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล • อัตราของเสีย/มีตำหนิ • ความถูกต้อง • การร้องเรียน • ความพอใจของผู้รับบริการ • เวลาในการให้บริการ • การให้บริการที่เป็นไปตามมาตรฐานเวลาที่กำหนด • ต้นทุนต่อหน่วยของผลผลิต/การให้บริการ • ความสามารถในการผลิตได้ผลผลิตตามที่วางแผนไว้ • ความสามารถในการทำงานได้ผลตามที่คาดหวังไว้

  41. กระทรวงพาณิชย์ “เป็นองค์กรนำในการผลักดันให้ประเทศไทยเป็นหนึ่งในห้า ผู้นำทางการค้าต่างประเทศของเอเซีย ส่งเสริมให้มีการค้าเสรี และเป็นธรรม ตลอดจนให้บริการการพาณิชย์อย่างมี ประสิทธิภาพ โดยร่วมมือกับภาคเอกชนอย่างใกล้ชิด” หนึ่งในห้าผู้นำทาง การค้าต่างประเทศ ส่งเสริมให้มีการค้า เสรีและเป็นธรรม ให้บริการพาณิชย์ อย่างมีประสิทธิภาพ

  42. ตัวชี้วัดประสิทธิภาพของกระทรวงพาณิชย์ตัวชี้วัดประสิทธิภาพของกระทรวงพาณิชย์ ตัวอย่าง KPI CSF - อัตราความพึงพอใจของผู้รับ บริการที่มีต่อบริการการพาณิชย์ - การให้บริการการพาณิชย์ได้ ตามมาตรฐานเวลาที่กำหนด - บริการพาณิชย์ที่เป็นเลิศ เหมาะสมกับเวลา ได้ มาตรฐานสูงสร้างความพึง พอใจให้กับผู้รับบริการ ฯลฯ ด้าน External - ใช้แผนพัฒนาบุคลากรที่มี ประสิทธิภาพ สอดคล้องกับ ความต้องการทางธุรกิจ มุ่ง พัฒนาให้บุคลากรมีความ สามารถ ในการทำงานได้อย่าง มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีจุดมุ่งหมายที่จะบรรลุ วิสัยทัศน์ขององค์กร - อัตราความพีงพอใจของบุคลากร ต่อการพัฒนาบุคลากรของ กระทรวงพาณิชย์ - อัตราความพีงพอใจของผู้บริหาร ต่อคุณภาพของบุคลากรกระทรวง พาณิชย์ - อัตราความพึงพอใจของสาธารณชน ต่อคุณภาพของบุคลากรกระทรวง พาณิชย์ ด้าน Internal

  43. CSF KPI - อัตราการลาออก - อัตราการขาดงาน ด้านนวัตกรรม - ระบบเตือนภัยล่วงหน้าได้ถูก นำมาใช้ - ความมีประสิทธิภาพของระบบ เตือนภัยล่วงหน้า - ใช้ระบบเตือนภัยล่วงหน้าที่มี ประสิทธิภาพ ทำให้กระทรวง สามารถเตรียมตัวรองรับการ เกิดวิกฤตการณ์ต่าง ๆได้ทันเวลา - งบประมาณของกระทรวง พาณิชย์ได้รับการใช้อย่างมี ประสิทธิภาพ - อัตราการตอบแทนจาก งบประมาณที่ถูกใช้ ด้านการเงิน

  44. แสดงการเชื่อมโยงของ KPI’s ใน 3 ระดับ S1 KPI 7 = Avg(KPI 5+KPI 3 + KPI 6) = (16+3+14)/3 = 11 M1 M3 KPI 5 = KPI 1+KPI 4 = 10+6 = 16 M2 KPI 6 = 14 D5 D1 KPI 3 = 3 KPI 4 = 6 D4 KPI 1 = 10 KPI 2 = 8 D2 D3

  45. การกำหนดเป้าหมาย • ผู้กำหนด ผู้บริหารระดับสูง จากผลการปฏิบัติงานย้อนหลัง • วิธีการกำหนด • รูปแบบการกำหนดเป้าหมาย • ตามที่กฎหมายกำหนด • ตามระดับผลการปฏิบัติงานในปัจจุบัน • ตามระดับที่สามารถบรรลุผลได้ • แบบท้าทาย

  46. หัวข้อ • เหตุผลที่ต้องนำ RBM มาใช้ • รูปแบบของการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ • วิธีการพัฒนาระบบ RBM • รูปแบบรายงาน • เงื่อนไขความสำเร็จ แนวคิดของ RBM ประโยชน์ของ RBM

  47. ผู้รับบริการ จะได้รับความพึงพอใจจากบริการมากขึ้น ประโยชน์ของ RBM เมื่อนำมาใช้ในราชการ ประชาชน มั่นใจว่าการทำงานของภาครัฐได้ผลคุ้มค่ากับภาษีที่เสียไป ผู้บริหาร จะมีข้อมูลที่มีน้ำหนักเพียงพอต่อการตัดสินใจทาง การบริหาร และสามารถเปิดเผยต่อรัฐบาลและ สาธารณชนได้ ผู้ปฏิบัติงาน จะได้รับความพึงพอใจในการทำงานมากขึ้น

  48. ประโยชน์ต่อผู้บริหาร 1. การยืนยันตำแหน่งขององค์กร 2. การสร้างความก้าวหน้าให้องค์กร 3. การยืนยันลำดับความสำคัญของงาน 4. การสื่อสารตำแหน่งขององค์กร

  49. หัวข้อ • เหตุผลที่ต้องนำ RBM มาใช้ • รูปแบบของการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ • วิธีการพัฒนาระบบ RBM • ประโยชน์ของ RBM • เงื่อนไขความสำเร็จ แนวคิดของ RBM รูปแบบรายงาน

  50. RBMS has four key functions Data Entry Reports Administration Data Approval

More Related