280 likes | 437 Views
ศธ 610 จุลเศรษฐศาสตร์(3 หน่วยกิต). ผู้สอน: ธีระพงษ์ วิกิตเศรษฐ ห้องทำงาน: 412 /อาคาร 6 โทรศัพท์ : 02-727-3187 เวลาปรึกษา : ตามเวลาที่ประกาศหรือโดยการนัดหมาย email: thiraphongv@yahoo.com. Course Outline. Download from http://www.nida.ac.th Click คณะ Click คณะพัฒนาการเศรษฐกิจ
E N D
ศธ 610 จุลเศรษฐศาสตร์(3 หน่วยกิต) • ผู้สอน: ธีระพงษ์ วิกิตเศรษฐ • ห้องทำงาน: 412/อาคาร 6 • โทรศัพท์: 02-727-3187 • เวลาปรึกษา: ตามเวลาที่ประกาศหรือโดยการนัดหมาย • email: thiraphongv@yahoo.com
Course Outline • Download from • http://www.nida.ac.th • Click คณะ • Click คณะพัฒนาการเศรษฐกิจ • Clickคณาจารย์/เจ้าหน้าที่ • Click อาจารย์ประจำ • Click Thiraphong Vikitset • Click Course Outline
วัตถุประสงค์ของวิชา ศธ. 610 • ให้นักศึกษาเข้าใจทฤษฎีจุลเศรษฐศาสตร์และประยุกต์ใช้ได้ • ต่อยอดวิชาได้ด้วยตนเอง • เป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อวิชาอื่น
การเตรียมตัวและการมีส่วนร่วมของนักศึกษาการเตรียมตัวและการมีส่วนร่วมของนักศึกษา • อ่านหนังสือก่อนเข้าห้องเรียน • ทำแบบฝึกหัดตามที่ได้รับมอบหมาย • ควรทำก่อนที่จะดูการเฉลย • ดูจาก Elearning ของ NIDA ที่ http://lms.nida.ac.th/moodle/ • ถามคำถามเมื่อไม่เข้าใจ • มีส่วนร่วมในการอภิปราย • นักศึกษาสามารถ down load power point ที่ใช้ในการบรรยายได้ในลักษณะเดียวกับ course outline
แนวทางในการบรรยาย • เน้นความเข้าใจในตรรก(logic)ของเศรษฐศาสตร์ • สื่อในการทำความเข้าใจ • กราฟ • คณิตศาสตร์ • คณิตศาสตร์เป็นเป็นหน่วยสนับสนุน ตรรกเป็นตัวนำ • การใช้คณิตศาสตร์อยู่ในระดับพีชคณิตและแคลคูลัสเบื้องต้น • บรรยายเฉพาะหัวข้อหลัก • นักศึกษาต้องเก็บรายละเอียดจากการอ่านหนังสือ • แบบฝึกหัดในหนังสือ • เพื่อฝึกทักษะในการประยุกต์ใช้ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์
แนวทางในการบรรยาย(ต่อ)แนวทางในการบรรยาย(ต่อ) • หนังสือหลักในวิชานี้ • ธีระพงษ์ วิกิตเศรษฐจุลเศรษฐศาสตร์: ทฤษฎีและการประยุกต์ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 3โครงการส่งเสริมเอกสารวิชาการ สถาบันบัณฑิตพัฒน บริหารศาสตร์ กรุงเทพ: สำนักงานกิจการโรงพิมพ์ องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก 2549 • Pindyck, Robert S. and Rubinfeld, Microeconomics, Sixth Edition, New Jersey: Pearson Prentice Hall, 2005
การทดสอบ • สอบกลางภาค • สอบปลายภาค • การคิดน้ำหนักการสอบทั้งสองครั้งจะให้น้ำหนักกับนักศึกษาที่มีการพัฒนาในการเรียนรู้ • ถ้าผลการสอบปลายภาคดีกว่าผลการสอบกลางภาค คะแนนการสอบปลายภาคจะเป็นคะแนนสุดท้ายในการคิดเกรด • ถ้าผลสอบปลายภาคต่ำกว่าผลสอบกลางภาค การคิดเกราจะคิดจากการให้น้ำหนักคะแนนกลางภาคร้อยละ 35 และคะแนนปลายภาคร้อยละ 65 • ลักษณะข้อสอบเป็นการประยุกต์ • เน้นความเข้าใจ • ไม่ใช้การทดสอบความจำ • มีลักษณะเหมือนกับแบบฝึกหัด
ตัวอย่างการตัดสินใจอย่างนักเศรษฐศาสตร์ตัวอย่างการตัดสินใจอย่างนักเศรษฐศาสตร์ • ตัดสินใจด้วยเหตุและผล • ขึ้นอยู่กับเป้าหมาย • ดูประโยชน์และต้นทุนที่เกิดขึ้น (cost-benefit) • ตัวอย่าง 1: คุณไปทานอาหารแบบ buffet ที่ร้านอาหารชื่อดังแห่งหนึ่งก่อนเข้าไปในห้องอาหาร คุณต้องซื้อคูปองอาหารในราคา 150 บาท หลังจากได้ซื้อคูปองแล้วคุณจะทานอาหารประเภทใด และในปริมาณใดก็ได้ • สมมติว่า คุณทานข้าวมันไก่ไป 1 จาน สลัด 1 จาน เนื้อแกะ 1 จาน แซลมอน 1 จาน สลิ่ม 1 จาน ผลไม้ 1 จาน และน้ำมะตูม 1 แก้ว • ในกรณีเดียวกัน ก่อนที่คุณจะซื้อคูปอง ก็ได้เจอเพื่อนคนหนึ่งซึ่งได้ขอเป็นเจ้าภาพสำหรับอาหารมื้อนี้ ซึ่งคุณก็ตอบรับด้วยความยินดี • คุณยังทานอาหารเหมือนกับในกรณีแรกที่คุณเสียเงินซื้อคูปอง 150 บาทหรือไม่?
การตัดสินใจอย่างนักเศรษฐศาสตร์(ต่อ)การตัดสินใจอย่างนักเศรษฐศาสตร์(ต่อ) • ตัวอย่าง 2: คุณไปเที่ยว New York และกำลังจะขับรถไปเที่ยวชมวิวระยะทาง 250 ไมล์ แต่ก็ได้รับข้อมูลว่าสามารถไปรถบัสได้ด้วย • ค่ารถบัสเท่ากับ $100 • ค่าใช้จ่ายในการขับรถ ซึ่งเป็นข้อมูลที่คิดค่าใช้จ่ายต่อ $/10,000 ไมล์มีดังต่อไปนี้ • ค่าประกัน $2000 • ค่าน้ำมัน $2000 • ค่าบำรุงรักษา $1000 • รวม $5000 หรือ $0.50 ต่อไมล์ ทำให้ค่าเดินทางไปชมวิวโดยรถเท่ากับ $125 • คุณมีรสนิยมที่ชอบขับรถพอๆกับการนั่งรถโดยสาร • คุณน่าจะเลือกไปโดยรถโดยสารเพราะมีค่าใช้จ่ายถูกกว่า?
การตัดสินใจอย่างนักเศรษฐศาสตร์(ต่อ)การตัดสินใจอย่างนักเศรษฐศาสตร์(ต่อ) • ในห้องน้ำภายในโรงแรม บางครั้งจะมีการเปลี่ยนแปลงจากกระดาษเช็ดมือเป็นเครื่องเป่าลมร้อน และในบางครั้งก็จะมีการเปลี่ยนแปลงจากเครื่องเป่าลมร้อนเป็นกระดาษเช็ดมือ
การตัดสินใจอย่างนักเศรษฐศาสตร์(ต่อ)การตัดสินใจอย่างนักเศรษฐศาสตร์(ต่อ) • ทำไมอาหารในเครื่องบินจึงอร่อยสู้อาหารในเหลาไม่ได้?
ข้อจำกัดความเศรษฐศาสตร์ของ Marshall • เศรษฐศาสตร์เป็นการศึกษาเรื่องของมนุษย์ในการดำเนินชีวิตประจำวัน(ordinary business of life) • พฤติกรรมในการใช้ทรัพยากรเพื่อความอยู่ดีกินดี(well-being)ของบุคคล และของสังคม • พฤติกรรมในการใช้ทรัพย์สิน(wealth) • เกี่ยวกับตัวของมนุษย์เอง
การดำเนินชีวิตประจำวันต้องมีการตัดสินใจการดำเนินชีวิตประจำวันต้องมีการตัดสินใจ • หลักการคือการตัดสินใจที่มีเหตุและผล(rational) • เหตุและผลหมายถึงการหาประโยชน์สูงสุดของผู้ตัดสินใจ • ผู้บริโภคต้องการความพอใจสูงสุด • ผู้ผลิตต้องการกำไรสูงสุด
การตัดสินใจในการดำเนินชีวิตขึ้นอยู่กับลักษณะของระบบเศรษฐกิจการตัดสินใจในการดำเนินชีวิตขึ้นอยู่กับลักษณะของระบบเศรษฐกิจ • ระบบเศรษฐกิจหมายถึงระบบของสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อการตัดสินใจของผู้ที่เกี่ยวข้อง • ปัจจุบันมีระบบเศรษฐกิจอยู่ 3 ระบบหลักๆ ด้วยกัน • ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม(socialism) • ระบบเศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต์(communism) • ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม(capitalism)
ผู้ที่เกี่ยวข้องในการตัดสินใจในระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมผู้ที่เกี่ยวข้องในการตัดสินใจในระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม รัฐบาล บทบาท 1. กำหนดกติกา/ระเบียบในกระบวนการซื้อขาย 2. แทรกแซงในกระบวนการซื้อขาย นโยบาย นโยบาย ค่าตอบแทนสินค้าและบริการ สินค้าและบริการ กลุ่มผู้บริโภค บทบาท 1) บริโภคสินค้าและบริการ 2) ขายหรือให้เช่าทรัพยากร กลุ่มผู้ผลิต บทบาท 1) ผลิตสินค้าและบริการ 2) ซื้อหรือเช่าทรัพยากร ทรัพยากร ค่าตอบแทนการใช้ทรัพยากร
โจทย์ในการตัดสินใจของสังคมไม่ว่าจะอยู่ในระบบศศใดโจทย์ในการตัดสินใจของสังคมไม่ว่าจะอยู่ในระบบศศใด • เราต้องการบริโภคสินค้าและ/หรือบริการอะไรบ้าง? • เราจะผลิตสินค้าเพื่อสนองความต้องการได้อย่างไร? • เมื่อได้ผลิตสินค้าแล้ว จะจัดสรรสินค้าดังกล่าวให้ใคร และในลักษณะอย่างไร?
จุดเด่นในระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมจุดเด่นในระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม • อิสระในการตัดสินใจของผู้บริโภคและผู้ผลิต • การซื้อขายระหว่างผู้ผลิตและผู้บริโภคอยู่บนพื้นฐานของผลประโยชน์ร่วมกัน • ใช้กลไกราคาเป็นเครื่องมือในการซื้อขาย • มีลักษณะเหมือนกับการต่อรองหรือการประมูลสินค้า
บทบาทของรัฐบาลในระบบศศแบบทุนนิยมบทบาทของรัฐบาลในระบบศศแบบทุนนิยม • กำหนดกติกาในการซื้อขายสินค้า • พิจารณาจากประโยชน์ของสังคมส่วนรวม • ห้ามการสูบฝิ่น • ห้ามการลักพาตัว • แทรกแซงในการกระจายประโยชน์สู่กลุ่มต่างๆในสังคม • ควบคุมราคา • พยุงราคา • แทรกแซงเมื่อกลไกราคาไม่ทำงาน • หัวข้อของเศรษฐศาสตร์สวัสดิการ
แนวคิดมือที่มองไม่เห็นของอาดาม สมิธ • ถ้าสมาชิกในสังคมทุกคนมุ่งหาประโยชน์สูงสุดให้กับตัวเอง สังคมส่วนรวมจะได้ประโยชน์สูงสุดด้วย • เกิดขึ้นจากกลไกราคา • ทุกคนมีสิทธิ์ในการแสดงความต้องการ • ประโยชน์ของสังคมคือประโยชน์ของผู้ผลิตรวมกับประโยชน์ของผู้บริโภค • แนวคิดนี้ไม่ได้พิจารณาการกระจายประโยชน์ • ตัวอย่างในการเลือกต้นไม้ในหมู่บ้าน
วิธีวิเคราะห์ในเศรษฐศาสตร์วิธีวิเคราะห์ในเศรษฐศาสตร์ • การสร้างตัวแบบเศรษฐศาสตร์ • เพื่อจำลองเหตุการณ์ในโลกแห่งความเป็นจริง • เหมือนกับการสร้างแผนที่ • ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์และเงื่อนไข
ตัวอย่างการสร้างแผนที่ตัวอย่างการสร้างแผนที่ • แผนที่นิด้า-เดอะมอลล์บางกะปิ • ข้อสมมติของการเขียนแผนที่คืออะไร? เดอะมอลล์บางกะปิ ทางเบี่ยงเข้าเดอะมอลล์บนสะพานลอย 300 เมตร ทางเบี่ยงขึ้นสะพานลอย ถนนเสรีไทย นิด้า
กระบวนการสร้างตัวแบบเศรษฐศาสตร์กระบวนการสร้างตัวแบบเศรษฐศาสตร์ • การสร้างตัวแบบมาจากการสังเกตโลกแห่งความเป็นจริง โลกแห่งความเป็นจริง การสร้างตัวแบบ ปรับปรุง/ขยายผล ทดสอบ ทดลอง/วิเคราะห์ สรุป
ประเภทของตัวแบบ • ตัวแบบเชิงตรรก(logical model) • ไม่ใช้ข้อมูลสถิติ • ตัวแบบเชิงสถิติ(statistical model) • ใช้ข้อมูลสถิติ • Ln X = 53 – 1.5LnPx + 2.6LnPi+ 3.4LnI R2=0.99 F = 125.4 • การผสมผสานระหว่างตรรกและสถิติในตัวแบบ • เป็นวิธีการศึกษาที่มีเหตุมีผล
การทดสอบตัวแบบ LOGICAL MODEL • ลักษณะของตัวแบบเชิงตรรก • เป็นจริงเสมอ • มีลักษณะเหมือนกับเรขาคณิต • เป็นจริงเสมอ • ถ้ามุม B = มุม C จะทำให้ AB = AC • การเปรียบเทียบข้อสมมติกับข้อเท็จจริง? • ไม่ได้วัดอำนาจการจำลอง • การเปรียบเทียบข้อสรุปกับข้อเท็จจริง • วัดอำนาจการจำลอง • ทดสอบด้วยกระบวนการทางสถิติ
การทดสอบตัวแบบสถิติ • การทดสอบอำนาจในการจำลอง • เครื่องหมายและนัยสำคัญของสัมประสิทธิ์ • สอดคล้องกับสมมติฐานหรือไม่ • t-test • F test • ความสามารถในการอธิบาย • R2
ความน่าเชื่อถือของวิชาเศรษฐศาสตร์ความน่าเชื่อถือของวิชาเศรษฐศาสตร์ • การขัดแย้งของนักเศรษฐศาสตร์ • เป็นปรากฎการณ์ในวิวัฒนาการของศาสตร์ • ตัวอย่างความขัดแย้งของนักวิทยาศาสตร์ • ลาวัวซิเยกับพรีสลีในเรื่อง oxidation • ประเภทของแนวคิด • ปฎิฐาน(positive) • วิเคราะห์สภาพที่เป็นจริง เป็นเรื่องของตรรก ไม่มีค่านิยมหรือปรัชญาแฝงอยู่ • ปทัศฐาน(normative) • วิเคราะห์สภาพที่ควรจะเป็น ขึ้นอยู่กับค่านิยมหรือปรัชญา
สาเหตุของความขัดแย้ง • ความขัดแย้งเชิงปฎิฐาน • เกิดจากการพิจารณาเงื่อนไขหรือสิ่งแวดล้อมที่แตกต่างกัน • ไม่ได้ขึ้นอยู่กับความแตกต่างของค่านิยม • ความขัดแย้งเชิงปทัศฐาน • เกิดจากค่านิยมที่แตกต่างกัน • การพัฒนาองค์ความรู้ในเชิงปฎิฐานจะช่วยลดความขัดแย้งในเชิง ปทัศฐานได้
ตัวอย่างของข้อความที่เป็นปฎิฐานกับปทัศฐานตัวอย่างของข้อความที่เป็นปฎิฐานกับปทัศฐาน • กฎหมายที่บังคับให้ผู้ขับขี่รถจักรยานยนตร์สวมหมวกนิรภัย จะทำให้มีผู้ได้รับบาดเจ็บจากอุบัติเหตุน้อยลง • กฎหมายหมวกนิรภัยเป็นกฎหมายที่ไม่เหมาะสม เพราะไม่ให้อิสระในการตัดสินใจแก่ผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์ • การที่ชาวคาทอลิกไม่ทานเนื้อสัตว์บกในวันศุกร์ทำให้เนื้อสัตว์น้ำมีราคาสูงขึ้น • การห้ามไม่ให้เด็กนักเรียนเล่นเกมส์ทางอินเทอร์เน็ทหลัง 22.00 นาฬิกา จะไม่ทำให้ผลการเรียนของเขาดีขึ้น • เราไม่ควรห้ามการโฆษณาสุรา เพราะจะทำให้รายได้ประชาชาติลดลง เนื่องจากรายได้ในตลาดการโฆษณาจะลดลง • การชักชวนให้ปิดเครื่องปรับอากาศระหว่าง 12 -13 น. จะช่วยลดดุลการค้า