220 likes | 388 Views
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์. ขั้นตอนในการแก้ปัญหา มี 4 ขั้นตอนคือ 1. วิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา 2.วางแผนในการแก้ปัญหา 3.ดำเนินการแก้ปัญหา 4.ตรวจสอบและปรับปรุง. ขั้นตอนในการแก้ปัญหา มี 4 ขั้นตอน คือ(ต่อ). 1. วิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา
E N D
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ ขั้นตอนในการแก้ปัญหา มี 4 ขั้นตอนคือ 1.วิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา 2.วางแผนในการแก้ปัญหา 3.ดำเนินการแก้ปัญหา 4.ตรวจสอบและปรับปรุง
ขั้นตอนในการแก้ปัญหา มี 4 ขั้นตอนคือ(ต่อ) 1.วิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา 1.1 ระบุข้อมูลนำเข้า คือ การพิจารณาข้อมูลและเงื่อนไขที่กำหนดมาในปัญหา 1.2 ระบุข้อมูลออก คือ การพิจารณาเป้าหมายหรือสิ่งที่ต้องหาคำตอบ 1.3 ระบุวิธีประมวลผล คือ การพิจารณาขั้นตอนวิธีการได้มาซึ่งคำตอบหรือข้อมูลออก
ขั้นตอนในการแก้ปัญหา มี 4 ขั้นตอนคือ(ต่อ) 2.วางแผนในการแก้ปัญหา การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธี (Tools and Algorithm Development) ในการแก้ปัญหาที่ได้วิเคราะห์แล้วจากขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนนี้จะเริ่มจากการเลือกเครื่องมือในการแก้ปัญหา และขั้นตอนวิธีก็มีความสำคัญในการแก้ปัญหา เช่น ผังงาน(Flowchart) หรือรหัสจำลอง (Pseudo Code) ที่จะช่วยให้ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาชัดเจนมากยิ่งขึ้น
สัญลักษณ์ผังงานFlowchart Symbol
Generally Accepted Meanings The Terminator Symbol ใช้แทนจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของผังงาน
Generally Accepted Meanings The Process Symbolใช้แทนการปฏิบัติงาน การกำหนดค่าตัวแปร ฟังก์ชันการทำงานต่างๆ
Generally Accepted Meanings The Document Symbolใช้ในการแสดงผลข้อมูลโดยการพิมพ์ออกมาทางเครื่องพิมพ์ (Printer) (เช่น การสร้างรายงาน)
Generally Accepted Meanings Off-page Connector Symbolsใช้เพื่อเชื่อมต่อผังงานไปหน้าอื่นๆ กรณีที่ผังงานที่เขียนมีมากกว่า 1 หน้ากระดาษ นิยมเขียนหมายเลขหน้ากำกับในสัญลักษณ์นี้ด้วย
Generally Accepted Meanings The Input/OutputSymbol ใช้ในการรับข้อมูลเข้าและส่งข้อมูลออก(แสดงผลลัพธ์)ทั่วไป โดยไม่ระบุอุปกรณ์
Generally Accepted Meanings The Decision Symbol ใช้ในการตัดสินใจ ตรวจสอบเงื่อนไขเพื่อเลือกหนึ่งทางเลือกที่จะต้องปฏิบัติ
Generally Accepted Meanings The Connector Symbolใช้แทนการเชื่อมต่อลูกศรบอกทิศทาง ในหน้าเดียวกัน กรณีต้องเขียนแยกกัน เขียนต่อเนื่องกันไม่ได้
Generally Accepted Meanings The Display Symbol ใช้แทนการแสดงผลลัพธ์ออกทางจอภาพ (Monitor)
Generally Accepted Meanings The Manual input Symbol ใช้แทนการป้อนข้อมูลด้วยตนเอง (ผ่านแป้นพิมพ์)
Generally Accepted Meanings The Flow Line Symbol ลูกศรบอกทิศทาง ใช้บอกทิศทางการไหลของ Flowchart ว่าไปในทิศทางใด
Example 1. วิเคราะห์รายละเอียดและเขียนผังงานจากปัญหาต่อไปนี้ ร้านอาหารแห่งหนึ่งมอบส่วนลด 10% ทันทีที่ลูกค้ามียอดทานอาหาร(Amt) เกิน 1,000 บาท ต้องการคำนวณหาเงินที่ลูกค้าจะต้องจ่ายแสดงผลออกทางจอภาพ
Example 1.1 วิเคราะห์รายละเอียดของปัญหา ข้อมูลนำเข้า คือ ค่าอาหารที่ลูกค้าทาน ให้เก็บไว้ที่ตัวแปร X ข้อมูลออก คือ ค่าอาหารที่หักส่วนลดแล้ว (ถ้ามี) เก็บไว้ที่ตัวแปร R วิธีการประมวลผล จากปัญหาให้หาค่าอาหารที่ลูกค้าต้องจ่าย มีวิธีการประมวลผลดังนี้ 1) รับค่าอาหารที่ลูกค้าทานทั้งหมดเข้ามา 2) ตรวจสอบว่าเกิน 1,000 บาทหรือไม่ถ้าเกิน ก็หาส่วนลด 10% โดย R =X – ((10*X) /100) ถ้าไม่เกินแสดงว่าลูกค้าจ่ายค่าอาหารเท่าที่ทานไม่ได้ส่วนลด
Example 1.1 วิเคราะห์รายละเอียดของปัญหา 3) แสดงผลค่าอาหารที่ลูกค้าต้องจ่ายออกทางจอภาพ
Example เริ่มต้น 1.2 ผังงาน รับค่า X จริง เท็จ X>1000 R=X R=X-((10*X)/100) แสดงค่า R สิ้นสุด
Example สมมติ ลูกค้าทาน 800 บาท เริ่มต้น X = 800 รับค่า X จริง เท็จ X>1000 800 > 1000 R=X R=X-((10*X)/100) R = 800 R = 800 แสดงค่า R สิ้นสุด
Example สมมติ ลูกค้าทาน 1500 บาท เริ่มต้น X = 1500 รับค่า X จริง เท็จ X>1000 1500 > 1000 R=X R=X-((10*X)/100) R = 1500 – ((10*1500)/100) R = 1350 แสดงค่า R สิ้นสุด