1 / 40

ประเทศไทย ในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ธนัญญ์ชนม์ โรจน์กิตติคุณ กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ

ประเทศไทย ในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ธนัญญ์ชนม์ โรจน์กิตติคุณ กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ. หัวข้อการบรรยาย. ความตกลงการค้าเสรีคืออะไร? ความเป็นมา : ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน กรอบความตกลงการค้าบริการอาเซียน ประโยชน์/ผลกระทบ. ความตกลงการค้าเสรี Free Trade Agreement/Area: FTA.

Download Presentation

ประเทศไทย ในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ธนัญญ์ชนม์ โรจน์กิตติคุณ กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ประเทศไทย ในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ธนัญญ์ชนม์ โรจน์กิตติคุณ กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ

  2. หัวข้อการบรรยาย • ความตกลงการค้าเสรีคืออะไร? • ความเป็นมา: ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • กรอบความตกลงการค้าบริการอาเซียน • ประโยชน์/ผลกระทบ

  3. ความตกลงการค้าเสรี Free Trade Agreement/Area: FTA เป็นความตกลงระหว่างสองประเทศ หรือ มากกว่า ตกลงที่จะขยายการค้า/ การลงทุนระหว่างกัน พยายามลดอุปสรรคทางด้านภาษี/ มิใช่ภาษี ครอบคลุม สินค้า บริการ การลงทุน ความร่วมมือ

  4. สิ่งที่ตกลงกันในการทำ FTA สินค้า สินค้าเกษตร : เนื้อสัตว์ ผัก ผลไม้ อุตสาหกรรม : รถยนต์ เครื่องใช้ไฟฟ้า บริการ โรงแรม สปา บริษัทนำเที่ยว บริการวิชาชีพ การเงิน การลงทุน อุตสาหกรรมการผลิต เกษตร ประมง ป่าไม้ เหมืองแร่ ความร่วมมือ ทรัพยากรบุคคล การถ่ายทอดเทคโนโลยี

  5. อุปสรรคทางการค้า ภาษีนำเข้า ประเทศ ก ประเทศ ข จัดตั้งธุรกิจบริการ/ เข้าไปลงทุน สินค้าส่งออก ระเบียบ หลัก เกณฑ์ สินค้าส่งออก จัดตั้งธุรกิจบริการ/ เข้าไปลงทุน ข้อจำกัด

  6. ASEAN

  7. Association of South East Asian Nations: ASEAN

  8. ASEAN Economic Community

  9. ASEAN Community ปี 2546 ผู้นำอาเซียน ลงนามในปฏิญญาบาหลี (Bali Concord II) แสดงเจตนารมณ์การนำอาเซียนไปสู่ “ประชาคมอาเซียน” (ASEAN Community) ในปี 2020 (2563) ASEAN Vision 2020 Association Of South East Asian Nations ASEAN Community

  10. ASEAN Community ASEAN Community 2563 ASEAN Security Community: ASC ASEAN Socio-Cultural Community: ASCC ASEAN Economic Community: AEC

  11. ASEAN Community ปี 2550 ผู้นำอาเซียนลงนามใน ปฏิญญาเซบู (Cebu Declaration) เร่งรัดการเป็น “ประชาคมอาเซียน” ให้เร็วขึ้น เป็นปี 2015 (2558) ASEAN Community 2015 ASEAN Community 2020

  12. ASEAN Community ปี 2550 รัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนลงนามรับรอง AEC Blueprint หรือ แผนงานการจัดตั้ง “ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” ASEAN Economic Community : AEC AEC Blueprint ส่งเสริมการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในเชิงลึกและกว้างมากขึ้น แผนการดำเนินงานใหม่ภายใต้กรอบระยะเวลาที่ชัดเจน

  13. ความตกลงการค้าภายใต้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนความตกลงการค้าภายใต้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ASEAN Trade in Goods Agreement: ATIGA ความตกลงว่าด้วยการค้าสินค้าอาเซียน ASEAN Framework Agreement on Services: AFAS กรอบความตกลงว่าด้วยการค้าบริการอาเซียน ASEAN Comprehensive Investment Agreement : ACIA ความตกลงว่าด้วยการลงทุนอาเซียน

  14. เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วมเป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม สร้างเสริมขีดความสามารถ ในการแข่งขัน AEC การพัฒนาเศรษฐกิจ อย่างเสมอภาค การบูรณาการเข้ากับ เศรษฐกิจโลก

  15. เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วมเป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม เคลื่อนย้ายสินค้าอย่างเสรี เคลื่อนย้ายบริการอย่างเสรี เคลื่อนย้ายการลงทุนอย่างเสรี เคลื่อนย้ายแรงงานฝีมืออย่างเสรี เคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรี

  16. สร้างเสริมขีดความสามารถ ในการแข่งขัน E_ASEAN นโยบายภาษี นโยบายการแข่งขัน ทรัพย์สินทางปัญญา พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน

  17. สนับสนุนการพัฒนา SMEs ลดช่องว่างการพัฒนาระหว่างสมาชิกเก่า - ใหม่ การพัฒนาเศรษฐกิจ อย่างเสมอภาค

  18. ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ สร้างเครือข่ายการผลิต / จำหน่าย ทำ FTA กับประเทศนอกภูมิภาค การบูรณาการเข้ากับ เศรษฐกิจโลก

  19. ASEAN+ FTAs/ FTAs ในอนาคต

  20. เคลื่อนย้ายสินค้าอย่างเสรีเคลื่อนย้ายสินค้าอย่างเสรี ASEAN Trade in Goods Agreement: ATIGA ความตกลงว่าด้วยการค้าสินค้าอาเซียน มีเป้าหมายลดภาษีนำเข้า และมาตรการที่มิใช่ภาษีสำหรับการค้าสินค้าระหว่างประเทศสมาชิก ASEAN 6 0% 1 ม.ค. 2553 ASEAN 4 (CLMV) 0-5% 1 ม.ค. 2553 0% 1 ม.ค. 2558 *ยกเว้นสินค้าใน Sensitive Listที่ภาษีไม่ต้องเป็น 0 แต่ต้องไม่เกิน 5% ประเทศไทยมี 4 รายการ ได้แก่ กาแฟ มันฝรั่ง ไม้ตัดดอก มะพร้าวแห้ง **และยกเว้นสินค้าใน Highly Sensitive Listที่ลดภาษีในระดับที่สมาชิกตกลงกัน ข้าว: อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ น้ำตาล: อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์

  21. เคลื่อนย้ายบริการอย่างเสรีเคลื่อนย้ายบริการอย่างเสรี เคลื่อนย้ายแรงงานฝีมืออย่างเสรี ASEAN Framework Agreement on Services: AFAS กรอบความตกลงว่าด้วยการค้าบริการอาเซียน การเปิดเสรีภายใต้ AFAS การลด/ยกเลิกกฎระเบียบที่เป็นอุปสรรค ต่อการค้าบริการในอาเซียน

  22. การเคลื่อนย้ายบริการอย่างเสรี...การเคลื่อนย้ายบริการอย่างเสรี... สาขาบริการ ตาม W 120 บริการด้านธุรกิจ บริการด้านสื่อสารคมนาคม บริการด้านการก่อสร้างและวิศวกรรมที่เกี่ยวเนื่อง บริการด้านการจัดจำหน่าย บริการด้านการศึกษา บริการด้านสิ่งแวดล้อม บริการด้านการเงิน บริการด้านสุขภาพและบริการทางสังคม บริการด้านการท่องเที่ยว บริการด้านนันทนาการ วัฒนธรรม และการกีฬา บริการด้านการขนส่ง บริการอื่นๆ

  23. การค้าบริการ : Trade in Services Supplier A. Consumer B. Supplier A. Consumer B. Supplier A. Consumer B. Supplier A. Consumer B. A.

  24. ความตกลงว่าด้วยการเคลื่อนย้ายบุคคลธรรมดาของอาเซียนความตกลงว่าด้วยการเคลื่อนย้ายบุคคลธรรมดาของอาเซียน ASEAN Agreement on Movement of Natural Persons : MNP จัดทำขึ้นเพื่ออำนวยความสะดวกการเคลื่อนย้ายบุคลากรชั่วคราวที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินการด้านการค้าสินค้า การค้าบริการ และการลงทุนระหว่างประเทศสมาชิก มีผลผูกพันให้ไทยต้องเปิดเสรีการเคลื่อนย้ายบุคคลในสาขาบริการเฉพาะเท่าที่ระบุไว้ในข้อผูกพันเท่านั้น โดยข้อผูกพันจะระบุประเภทของบุคลากรที่ประเทศสมาชิกอนุญาตให้เข้าไปให้บริการได้ รวมถึงระยะเวลาในการให้เข้าเมืองชั่วคราวหรือพำนักชั่วคราวและเงื่อนไขอื่นๆ เกี่ยวกับการอนุญาตทำงาน

  25. Mutual Recognition Agreement: MRA ข้อตกลงยอมรับร่วมคุณสมบัตินักวิชาชีพ แพทย์ สถาปนิก พยาบาล วิศวกร การสำรวจ ทันตแพทย์ การบัญชี

  26. เคลื่อนย้ายการลงทุนอย่างเสรีเคลื่อนย้ายการลงทุนอย่างเสรี เคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรี ASEAN Comprehensive Investment Agreement : ACIA ความตกลงว่าด้วยการลงทุนอาเซียน การเปิดเสรีภายใต้ ACIA เกษตร เพาะ ปลูก ประมง ป่าไม้ เหมืองแร่

  27. ผลกระทบจากการเปิดตลาดผลกระทบจากการเปิดตลาด ผลกระทบเชิงบวก ภาษีนำเข้าเป็น 0% มาตรการนำเข้าลดลง นำเข้าวัตถุดิบ สินค้ากึ่งสำเร็จรูปจากแหล่งผลิตใน AEC ที่มีความได้เปรียบด้าน ราคา/คุณภาพ ตลาด 10 ประเทศ รวมเป็นตลาดเดียว ตลาดใหญ่ขึ้น: economy of scale สามารถย้ายฐานการผลิตไปยังประเทศที่เหมาะเป็นแหล่งผลิต การลงทุนในอาเซียน ทำได้โดยเสรี เป็นฐานการผลิตร่วม ใช้ CLMV เป็นฐานการส่งออกไปนอก AEC เพื่อใช้ประโยชน์จากสถานะ Least Developed Countries: LDCs

  28. ผลกระทบจากการเปิดตลาดผลกระทบจากการเปิดตลาด ผลกระทบเชิงบวก ความร่วมมือด้าน การอำนวยความสะดวกทางการค้า ระบบโลจิสติกส์ในภูมิภาค สะดวกและถูกลง ทำธุรกิจบริการได้โดยเสรี ฐานธุรกิจอยู่ที่ใดก็ได้ในอาเซียน แก้ปัญหาขาดแคลนแรงงานฝีมือ มีความได้เปรียบทางภาษีนำเข้า กว่าคู่แข่งอื่นนอกอาเซียน FTA อาเซียนกับคู่ค้าต่างๆ ASEAN+1, +3, +6

  29. ผลกระทบจากการเปิดตลาดผลกระทบจากการเปิดตลาด ผลกระทบเชิงลบ ภาษีนำเข้าเป็น 0% มาตรการนำเข้าลดลง เกิดคู่แข่งใหม่จากอาเซียน ตลาด 10 ประเทศ รวมเป็นตลาดเดียว ต้นทุนของคู่แข่งอาจต่ำลง คู่แข่งจะเข้ามาแข่งถึงในเขตแดนเรา อาจถูกแย่งแรงงานฝีมือ การลงทุน/ ทำธุรกิจบริการ ในอาเซียนทำได้โดยเสรี เป็นฐานการผลิตร่วม บริษัทที่อยู่ในอุตสาหกรรมรองรับ หรือ เคยผลิตส่งบริษัทแม่ อาจถูกแย่งลูกค้า โดยคู่แข่งในประเทศอื่นที่ได้เปรียบกว่า ในการเป็นฐานการผลิต

  30. ได้เวลาเตรียมความพร้อมได้เวลาเตรียมความพร้อม • ศึกษาข้อมูลพันธกรณีในกรอบต่างๆ ให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ • ติดตามข่าวสารความเคลื่อนไหวทางเศรษฐกิจอย่างใกล้ชิด (รู้รอบ รู้ทัน) • ปรับเปลี่ยนทัศนคติจากเชิงรับ เป็น เชิงรุก (ใช้โอกาสที่เปิดกว้างมากขึ้น) • รู้เขา รู้เรา (สร้างความแตกต่างให้กับสินค้า/บริการจากจุดแข็งที่มีอยู่) • เข้าใจประเด็นเทคนิค (แหล่งกำเนิดสินค้า การคำนวณต้นทุน ฯลฯ) • ธุรกิจจะแข่งขันกันที่ความคิดสร้างสรรค์ คุณภาพ/มาตรฐาน • และการให้บริการที่จะผูกมัดใจลูกค้าของเรา

  31. แนวคิด....

  32. สาขาบริการสุขภาพ ภายใต้การเจรจา ความตกลงการค้าเสรี

  33. บริการด้านสุขภาพและสังคมบริการด้านสุขภาพและสังคม บริการอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับสุขภาพ บริการด้านสุขภาพ บริการด้านสังคม บริการอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับสุขภาพ (CPC Ver.2: 97230 : Physical Well-being Services) เช่น สปา และนวดไทย Hospital Services Medical / Dental Services Other Human Health (CPC 9311) คือการให้บริการโรงพยาบาลภายใต้การดูแลของแพทย์แบบผู้ป่วยใน (CPC 9312) คือการให้บริการการแพทย์และ ทันตแพทย์แบบผู้ป่วยนอก (CPC 9319) เช่น การพยาบาลดูแลผู้ป่วยกายภาพบำบัด Para-medical services รถพยาบาลที่พักฟื้นผู้ป่วย

  34. Health Cluster • บริการที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ • Lab Testing • R&D • Health Insurance • Life Science • ที่เที่ยว-ที่พัก • บริการอาหาร - เครื่องดื่ม กิจกรรมหลัก • สินค้าที่เกี่ยวข้องกับบริการสุขภาพ • วัสดุอุปกรณ์ทันตกรรม • ยา – วิตามิน • อาหารเสริม • อุปกรณ์ – เครื่องมือแพทย์ • สมุนไพร ตำรับยาพื้นบ้าน • เครื่องสำอาง Para-Medic ทันตกรรม กายภาพ บำบัด คลีนิค โรง พยาบาล เสริมสวย ดูแลคนชรา สปา นวดบำบัด Long Stay นวด ผ่อนคลาย การผลิต ร้านขายยา

  35. รูปแบบการให้บริการสุขภาพรูปแบบการให้บริการสุขภาพ Mode 1: การให้บริการข้ามพรมแดน คือ แพทย์ให้บริการตรวจวินิจฉัยโรคแก่ผู้ป่วยผ่านอินเทอร์เน็ต หรือการออกใบรับรองแพทย์ และบริการอ่านผลเอ็กซ์เรย์ เป็นต้น Mode 2: การเข้าไปรับบริการในต่างแดน คือ การที่ผู้ป่วย หรือนักท่องเที่ยว เดินทางไปรับการรักษา หรือใช้บริการด้านสุขภาพในต่างประเทศ Mode 3: การจัดตั้งหน่วยธุรกิจในต่างแดน คือ การเข้าไปลงทุนเปิดคลีนิค โรงพยาบาล หรือสถานให้บริการด้านสุขภาพในต่างประเทศ Mode 4: การเข้าไปทำงานของบุคลากรเป็นการชั่วคราว คือ แพทย์ พยาบาล หรือเจ้าหน้าที่ด้านสุขภาพ เดินทางไปให้บริการแก่ผู้ป่วย หรือผู้รับบริการในต่างประเทศ เป็นต้น

  36. ข้อผูกพันสาขาบริการสุขภาพของไทยข้อผูกพันสาขาบริการสุขภาพของไทย • ประเทศไทยมีการทำความตกลงการค้าเสรีหลายฉบับทั้งในระดับภูมิภาค และทวิภาคี แต่ผูกพันเปิดตลาดสาขาบริการสุขภาพให้ต่างชาติให้ต่างชาติเข้ามาลงทุนเฉพาะภายใต้กรอบความตกลงด้านการค้าบริการอาเซียน (ASEAN Framework Agreement on Services: AFAS) และความตกลงการค้าเสรี ไทย-เปรู เท่านั้น ในสาขา • บริการด้านการแพทย์เฉพาะทางในโรงพยาบาลเอกชน • บริการด้านสัตวแพทย์ปศุสัตว์ • บริการด้านพยาบาลในแผนกกายภาพบำบัดและ หน่วยกู้ชีพ ในโรงพยาบาล • บริการโรงพยาบาล • โดยอนุญาตเฉพาะรูปแบบของบริษัทจำกัดเท่านั้น และสัดส่วนหุ้นต่างชาติต้องไม่เกินร้อยละ 70 และดำเนินธุรกิจได้เฉพาะในลักษณะการร่วมทุน (Joint Venture) กับนิติบุคคลสัญชาติไทยเท่านั้น

  37. ข้อผูกพันสาขาบริการสุขภาพของไทยข้อผูกพันสาขาบริการสุขภาพของไทย • นอกจากนี้ ยังมีข้อจำกัดด้านอื่นๆ ดังต่อไปนี้ • ไม่ผูกพันในเรื่องการถือครองและใช้ประโยชน์ที่ดิน • บุคคลหรือนิติบุคคลต่างชาติภายใต้ข้อผูกพันนี้ที่ถือครองหรือได้รับสิทธิในการถือครองที่ดินจะถือว่าขาดคุณสมบัติในการได้รับสิทธิประโยชน์ภายใต้ความตกลง • กรรมการบริหาร รวมถึงผู้บริหารหรือเทียบเท่า จะต้องมีสัญชาติไทยและมีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย • บุคคลหรือตัวแทนนิติบุคคลที่เป็นผู้ขอรับใบอนุญาตต้องมีสัญชาติไทย • ไม่ผูกพันสำหรับมาตรการที่เกี่ยวข้องกับการอุดหนุน และสิทธิพิเศษ เงินลงทุนขั้นต่ำ การได้สิทธิครอบครอง และการใช้ที่ดิน มาตรการที่เกี่ยวกับภาษี และข้อจำกัดเรื่องสัญชาติ

  38. ข้อผูกพันสาขาบริการสุขภาพของไทยข้อผูกพันสาขาบริการสุขภาพของไทย • ทั้งนี้ภายใต้ ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจไทย-ญี่ปุ่น (Japan-Thailand Economic Partnership Agreement: JTEPA)อนุญาตให้แพทย์ชาวญี่ปุ่นสามารถติดตามผู้ป่วยชาวญี่ปุ่นที่มารับการรักษาในประเทศไทย เพื่อดูแลเฉพาะคนกลุ่มนี้ได้เท่านั้น (ห้ามรักษาคนอื่น และห้ามทำการรักษาในโรงพยาบาล และเมื่อผู้ป่วยเดินทางกลับแพทย์ญี่ปุ่นดังกล่าวก็ต้องกลับไปด้วย) ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับความเห็นชอบของแพทยสภาแห่งประเทศไทย [มาตรา26 (6) ของ พ.ร.บ วิชาชีพเวชกรรม พ.ศ 2525]

  39. บทบาทกระทรวงพาณิชย์ กระทรวงพาณิชย์พร้อมให้การสนับสนุนและ อำนวยความสะดวกโดยการทำงานร่วมกัน กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ: ลู่ทางการค้าและการลงทุน กรมการค้าต่างประเทศ: การใช้สิทธิประโยชน์และมาตรการรองรับผลกระทบ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า: การพัฒนาผู้ประกอบการ SMEs กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ: ความรู้เกี่ยวกับข้อตกลง และพันธกรณีของไทย

  40. สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม www.ditp.go.th สายด่วน Call center : 1169, 0-2507-8424 www.dft.go.th สายด่วน Call Center: 1385, 0-2547-4855 www.dbd.go.th สายด่วน Call Center : 1570, 0-2528-7600 www.dtn.go.thwww.thaifta.com โทร : 0-2507-7555

More Related