1 / 65

การจัดการศึกษาสำหรับกุมารแพทย์ยุคใหม่ : กระบวนทัศน์ที่เปลี่ยนไป

การจัดการศึกษาสำหรับกุมารแพทย์ยุคใหม่ : กระบวนทัศน์ที่เปลี่ยนไป. คณะอนุกรรมการ อฝส. ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย 30 ตุลาคม 2552. เทคโนโลยี ก้าวหน้า. ประชาชน มีศึกษาดีขึ้น. โรคเปลี่ยน. สังคมและวิถีชีวิตเปลี่ยน. - ค่าใช้จ่ายสูง ใช้ผิด ข้อมูลมีจำนวนมาก.

waverly
Download Presentation

การจัดการศึกษาสำหรับกุมารแพทย์ยุคใหม่ : กระบวนทัศน์ที่เปลี่ยนไป

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดการศึกษาสำหรับกุมารแพทย์ยุคใหม่ : กระบวนทัศน์ที่เปลี่ยนไป คณะอนุกรรมการ อฝส. ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย 30 ตุลาคม 2552

  2. เทคโนโลยี ก้าวหน้า ประชาชน มีศึกษาดีขึ้น โรคเปลี่ยน สังคมและวิถีชีวิตเปลี่ยน • - ค่าใช้จ่ายสูง • ใช้ผิด • ข้อมูลมีจำนวนมาก - ความต้องการ - การตรวจสอบ - ความเชื่อมั่น บทบาทของแพทย์ในการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขของประเทศ ข้อมูลมีมาก เปลี่ยนเร็ว การตัดสินใจทางการแพทย์ - รู้ปัญหาชุมชน - สนองตอบสังคม - ตามให้ทัน (เทคโนโลยี) - คำนึงถึงจริยธรรม - เลือกให้ถูก - เศรษฐกิจ PARADIGM SHIFT ศ.จรัส สุวรรณเวลา

  3. HEALTH NEEDS HEALTH NEED PROFESSIONAL NEEDS BROAD EDUCATIONAL GOALS PROFESSIONAL NEEDS VERIFICATION OF SPECIFIC COMPETENCIES SPECIFIC OBJECTIVE LEARNER NEEDS LEARNER NEEDS EVALUATION & FEED BACK LEARNING & EXPERIENCE RESOURCES MODEL OF CURRICULUM DEVELOPMENT ที่มา : สุมิตร สุตรา และ อรุณ จิรวัฒน์กุล 3 พฤศจิกายน2551 Merle C.Tan 2006

  4. EMPOWERMENT • ภาคีเพื่อสุขภาวะของเด็กและเยาวชนไทย • กระทรวงสาธารณสุข • กระทรวงพัฒนาสังคมฯ • องค์กร UNICEF ฯลฯ • กระทรวงศึกษาธิการ • กระทรวงมหาดไทย • องค์กรเอกชน เด็กไทย อยู่ดี มีสุข พัฒนาการสมวัย ทั้งร่างกาย สติ ปัญญา อารมณ์ จิตใจ สังคม และจริยธรรม  รับการอบรมเลี้ยงดูเอาใจใส่เป็นอย่างดี • รับการส่งเสริมพัฒนาการตามวัยในทุกด้าน • รับการศึกษาให้เปล่งศักยภาพเต็มที่ • สิ่งแวดล้อม ปลอดภัย เอื้อต่อการเจริญวัย • บุคลากรที่มีความสามารถ • การให้บริการทางการแพทย์ และสาธารณสุข การสนับสนุนด้านการเมือง พ.ร.บ. สุขภาพแห่งชาติ สมัชชาสุขภาพ เครือข่ายประชาคม และสื่อสาธารณะ นโยบายเกี่ยวกับเด็กและเยาวชน พ.ร.บ. คุ้มครองเด็ก พ.ร.บ. ส่งเสริม พัฒนาเด็ก พ.ร.บ. ควบคุมเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ การใช้หลักฐานโดยใช้หลักฐานที่ดีที่สุด ในการตัดสินใจ เพื่อการส่งเสริมสุขภาพ ตรวจคัดกรอง วินิจฉัย รักษา โดยคำนึง ถึงประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความเป็น ธรรม และเป็นที่ย่อมรับของชุมชน การพัฒนาระบบการฝึกอบรม การจัดการความรู้ การบริหารงานวิจัย  ผู้เลี้ยงดู  ครอบครัว  ชุมชน  โรงเรียน  สถานบริการสุขภาพ Social Marketing Health Education Policy, Empowerment การวิเคราะห์สถานภาพ ปัญหา และโอกาส ที่มา : สุมิตร สุตรา และ อรุณ จิรวัฒน์กุล 3 พฤศจิกายน 2551

  5. การฝึกอบรมแพทย์ดำเนินการในที่ซึ่งแพทย์มีโอกาสเห็นผู้ป่วยน้อยที่สุด?การฝึกอบรมแพทย์ดำเนินการในที่ซึ่งแพทย์มีโอกาสเห็นผู้ป่วยน้อยที่สุด?

  6. Characteristics of medical care based on evidence and its resultant modes of delivery Low Unknown and unpredictable Self care Allied Health Primary care Secondary Care AMC Degree of agreement Complex problem solving but solvable Simple to complicated but predictable High High Low Degree of Certainty Source: Plsek PE, Greenhalgh T. BMJ 2001;323:625-28

  7. ปัญหาสุขภาพของเด็กและวัยรุ่นไทยปัญหาสุขภาพของเด็กและวัยรุ่นไทย ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการให้บริการและ ส่งเสริมสุขภาพ ครอบครัว ชุมชน สังคม ระบบบริการและบุคลากรที่มีประสิทธิภาพ องค์ประกอบความต้องการด้านสุขภาพ (health needs)

  8. วัฒนธรรม การศึกษา ค่านิยม อายุ, เพศ,พันธุกรรม ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อสุขภาวะของเด็กไทย โครงสร้างประชากร เศรษฐกิจ การเมือง และระบบสนับสนุน พฤติกรรม สุขภาพ อาหาร น้ำ และระบบ สังคม ชุมชน สภาพแวดล้อมในการดำรงชีวิต สุขาภิบาล ครอบครัวและการเลี้ยงดู ระบบ บริการ สุขภาพ ที่อยู่ อาศัย อายุ, เพศ,พันธุกรรม

  9. ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อสุขภาวะเด็กไทยปัจจัยที่มีผลกระทบต่อสุขภาวะเด็กไทย เสียชีวิต ผู้ป่วยในโรงพยาบาล ผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาล ผู้ป่วยซึ่งแสวงหาการรักษาพยาบาลอื่นๆ โรคซึ่งตรวจพบโดยการตรวจคัดกรอง สำรวจ และวิจัย ที่มา : สุมิตร สุตรา และ อรุณ จิรวัฒน์กุล 3 พฤศจิกายน 2551

  10. เด็กที่มีพฤติกรรมเสี่ยงเด็กที่มีพฤติกรรมเสี่ยง สิ่งแวดล้อมเสี่ยง เด็กในภาวะ ยากลำบาก ที่มา : สุมิตร สุตรา และ อรุณ จิรวัฒน์กุล 3 พฤศจิกายน 2551

  11. พ.ศ. 2503 ประเทศไทย 70+ 60-64 ชาย หญิง 45-49 30-34 15-19 ร้อยละ 0-4 Baby Boom พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2568 ประเทศไทย ประเทศไทย 70+ 70+ 60-64 ชาย 60-64 หญิง หญิง ชาย 45-49 45-49 30-34 30-34 15-19 15-19 0-4 ร้อยละ 0-4 ร้อยละ Demographic Dividend Aging Population โครงสร้างประชากรไทยอดีต ปัจจุบัน และอนาคต ที่มา : ปาณบดี เอกะจัมปกะ และ นิธิศ วัฒนมะโน 17 กันยายน 2551

  12. ด้านสภาพแวดล้อมในการดำรงชีวิตด้านสภาพแวดล้อมในการดำรงชีวิต การเปลี่ยนแปลงด้านสภาพแวดล้อมในการดำรงชีวิต 5. เยาวชนอยู่ในสภาพแวดล้อมไม่ดี - เข้าถึงแหล่งซื้อบุหรี่ภายในเวลา 7 นาที - เข้าถึงร้านเกมอินเทอร์เน็ต ภายในเวลา 12 นาที - แหล่งการพนันภายใน 15 นาที - แหล่งซื้อขายซีดี ดีวีดีลามก สถานบันเทิงและสถานบริการ ทางเพศภายใน 30 นาที ที่มา : ปาณบดี เอกะจัมปกะ และ นิธิศ วัฒนมะโน 17 กันยายน 2551

  13. ด้านครอบครัว ที่มา : ปาณบดี เอกะจัมปกะ และ นิธิศ วัฒนมะโน 17 กันยายน 2551

  14. คุณภาพของการเลี้ยงดูเด็กคุณภาพของการเลี้ยงดูเด็ก ผู้เลี้ยงดูหลักของเด็กส่วนใหญ่จบชั้นประถมศึกษา ในด้าน การเลี้ยงดู พ่อแม่ยกหน้าที่ดูแลเด็กเรื่องเรียนให้กับครู • ความรุนแรงในครอบครัว • ประมาณครึ่งหนึ่งถูกผู้ปกครองกระทำรุนแรงทางวาจา • 1 ใน 4 เคยถูกกระทำรุนแรงทางร่างกาย เด็ก 1 ใน 3 มีพฤติกรรม ใช้ความรุนแรง ลัดดา เหมาะสุวรรณ และคณะ

  15. พฤติกรรมเสี่ยงของวัยรุ่น (%) 2544 ที่มา : สุวรรณา เรืองกาญจนเศรษฐ์ และคณะ 17 กันยายน 2551

  16. พฤติกรรมสุขภาพ ที่มา : ปาณบดี เอกะจัมปกะ และ นิธิศ วัฒนมะโน 17 กันยายน 2551

  17. % 6-14y 6-14y Whole country Nutritional status of school-aged children  Type 2 DM, OSA ลัดดา เหมาะสุวรรณ และคณะ

  18. การใช้สารเสพติด (ครั้งคราว/ติด) (%) 2544 2548 2551 สูบบุหรี่กทม. 15.4 - 7.9 ทั้งประเทศ - 10.1 2.2-4.1 เครื่องดื่มที่มี กทม. 37.3 - 31.9 แอลกอฮอล์ ทั้งประเทศ - 19.8 7.9-27.4 ยาบ้า กทม. 37.8 1.4 0.8 ทั้งประเทศ - - 0.1-1.1 ที่มา : สุวรรณา เรืองกาญจนเศรษฐ์ และคณะ 17 กันยายน 2551

  19. เด็กในภาวะ ยากลำบาก เศรษฐกิจทุนนิยม มุ่งเน้นอุตสาหกรรม ความยากจน ด้อยโอกาส เด็กยากจน เด็กในสลัม HIV เด็กพิการ อพยพแรงงาน ผลผลิตเกษตรตกต่ำ เด็ก ครอบครัว ชุมชน ความรุนแรง ในครอบครัว การหย่าร้าง ขาดความอบอุ่น • การเปลี่ยนแปลงครอบครัว • หย่าร้าง • ครอบครัวเดี่ยว • ทิ้งเด็กให้ผู้อื่นเลี้ยงดู • ขาดความสัมพันธ์ความอบอุ่น เด็กถูกทารุณกรรม ละเลยทอดทิ้ง เด็กกำพร้า เด็กเร่ร่อน สุรา บุหรี่ สารเสพติด เล่นการพนัน สื่อไม่เหมาะสม ขาดทักษะชีวิต เพศสัมพันธ์ ก่อนวัยอันควร กระแสบริโภคนิยม วัตถุนิยม เด็กกระทำผิด เด็กขายบริการ แรงงานเด็ก ระบบการศึกษาล้มเหลว ไม่เท่าเทียมทางการศึกษา ภัยพิบัติ เด็กในภัยพิบัติ สงคราม ความยากจน ของประเทศเพื่อนบ้าน เด็กต่างชาติ แรงงานเด็กต่างชาติ เด็กไร้รัฐ อพยพถิ่นฐาน ลักลอบเข้าเมือง ที่มา : ศรีเวียง ไพโรจน์กุล และคณะ 17 กันยายน 2551

  20. เด็กในภาวะยากลำบาก เด็กกำพร้าและถูกทอดทิ้ง 700-800 คน/ปี เด็กกระทำผิด 50,000 คน เด็กถูกทารุณกรรม ละเลยทอดทิ้ง 2.7 ล้านคน/ปี ความยากจน การขาดโอกาส ครอบครัวล่มสลาย ความรุนแรง ด้อยการศึกษา เด็กยากจน 2.1 ล้านคน เด็กพิการ 66,585 คน แรงงานเด็ก 1 ล้านคน เด็กเร่ร่อน 13,000 คน เด็กอาศัยในสลัม 2 ล้านคน เด็กติดเชื้อ HIV 3500 คน บิดามารดาติดเชื้อ HIV 500,000 คน เด็กต่างชาติ (<15 ปี) 93,000 คน เด็กไร้รัฐ ? ที่มา : ศรีเวียง ไพโรจน์กุล และคณะ 17 กันยายน 2551

  21. สปสช. 1,711,796 episode สวัสดิการข้าราชการ 90,014 episode Hospital Admission Episodes 2550 749 3,963 Population x 1000 6,305 5,701

  22. early neonatal Perinatal Mortality 6.2/1000 LB Neonatal Mortality 6.6/1000 LB Low Birth Weight (P05, P07) 6.25/100 LB Congenital malformation 1% Birth asphyxia (P21) 8.67/1000 LB 33% perinatal Diseases 64% Normal New born Respiratory distress Of newborn (P22) 1.98/100 LB Bacterial sepsis (P36) 2.13/100 LB 0.5% 0.3% 0.2% Neonatal jaundice (P58, P59) 14.13/100 LB 0.2% 0.2% 0.3% 30 day and under ที่มา : สุมิตร สุตรา และ อรุณ จิรวัฒน์กุล 3 พฤศจิกายน 2551

  23. Age in day Count % Total 0 1 2 3 4 5 6 7 3424 3003 249 53 39 31 26 11 12 100 87.7 7.3 1.5 1.1 .9 .8 .3 .4 SOURCE OF DATA Count % Total General Hospital with > 90 bed or higher level Community hospital 3,424 3230 194 100 94.3 5.7 early neonatal Death by Primary Diagnosis Number in early neonatal Death by Age in Day 14.6% Congenital mal. 7.7% Parinatal infection 10.7% other 29% Prematurity & LBW 38% Respiratory & cardiovascular disorder ที่มา : สุมิตร สุตรา และ อรุณ จิรวัฒน์กุล 3 พฤศจิกายน 2551

  24. 1-12 Months ที่มา : สุมิตร สุตรา และ อรุณ จิรวัฒน์กุล 3 พฤศจิกายน 2551

  25. ที่มา : นันทา อ่วมกุล และคณะ 17 กันยายน 2551 อัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน ระหว่างประเทศ ร้อยละ แหล่งที่มา : สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข

  26. ระบบเฝ้าระวังและคัดกรองระบบเฝ้าระวังและคัดกรอง • Birth asphyxia • LBW • HIV (perinatal transmission) • ธาลัสซีเมียชนิดรุนแรง • ภาวะพร่องไทรอยด์ในทารกแรกเกิด • ภาวะสูญเสียการได้ยินในทารกแรกเกิด • ภาวะทุพโภชนาการ • พัฒนาการล่าช้า ที่มา : นันทา อ่วมกุล และคณะ 17 กันยายน 2551

  27. ที่มา : นันทา อ่วมกุล และคณะ 17 กันยายน 2551 ความคาดหวังในบทบาทกุมารแพทย์ 0-1 ปี • การดูแลรักษาแบบองค์รวม (Holistic care) • การลดการตายของทารกโดยเฉพาะในช่วง 7 วันแรก • การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ทั้งเด็กปกติและเด็กป่วยที่ไม่มีข้อห้ามทางการแพทย์ • คลินิกเด็กดีไม่ใช่คลินิกเพื่อให้วัคซีนเท่านั้น • การให้ความรู้และเสริมสร้างทักษะการเลี้ยงเด็กแก่พ่อแม่หรือผู้ดูแลเด็ก • การคัดกรองโรคและหรือภาวะเสี่ยงที่ครบวงจร

  28. 1-5 years MORBIDITY Other 9.4% genitourinary system 1.8% Respiratory infections 40.5% the blood 2.1% Arthropod-borne 2.4% the skin 2.5% other infectious 4.1% digestive system6.4% injury & poisoning7.1% Intestinal infection 18.1% 1.5% 1.2% 1.2% 1.1% 0.6% ที่มา : สุมิตร สุตรา และ อรุณ จิรวัฒน์กุล 3 พฤศจิกายน 2551

  29. Other 9.4% Respiratory infections 40.5% digestive system6.4% injury & poisoning7.1% Intestinal infection 18.1% 1-5 years ที่มา : สุมิตร สุตรา และ อรุณ จิรวัฒน์กุล 3 พฤศจิกายน 2551

  30. Reported Cases and Deaths of Vaccine Preventable Diseases Thailand,2007(2550) Deaths Diseases Cases Morbidity Rate (Per 100,000 Pop.) Chickenpox 63094 1 100.26 Mumps 9229 - 14.78 Measles 3893 1 6.20 Rubella 341 - 0.54 Acute Flaccid Paralysis* 226 8 1.71 Diphtheria 3 1 0.005 Pertussis 23 - 0.34 Tetanus neonatorum** 4 - 0.50 Tetanus Exc.Neo. 132 6 0.21 Japanese B encephalitis 43 1 0.07 Per 100,000 Live births Per 100,000 ( < 15 year) สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

  31. ร้อยละ พ.ศ. * ประเมินโดยเครื่องมือ Denver II ที่มา : นันทา อ่วมกุล และคณะ 17 กันยายน 2551 พัฒนาการของเด็กปฐมวัยแรกเกิด – 5 ปี พ.ศ. 2542,2547,2550

  32. แสดงการติดค้างของศีรษะในช่องว่างระหว่างเตียงกับกำแพงหรือเตียงกับ เฟอร์นิเจอร์อื่น แสดงลักษณะการเสียชีวิตจากการติดค้างของศีรษะ (head entrapment) ในช่องว่างที่มีความกว้างกว่า 6 เซนติเมตรในเตียงเด็กทารก ที่มา : อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์ และคณะ 17 กันยายน 2551

  33. อัตราการตายจากการจมน้ำ (/100000) ในเด็กอายุ 1-14 ปี ที่มา : อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์ และคณะ 17 กันยายน 2551

  34. กระทรวงสาธารณสุข • กระทรวงศึกษาธิการ • กระทรวงพัฒนาสังคม • สุขภาพ อนามัย พัฒนา • เตรียมความพร้อมด้านการศึกษา • เตรียมสังคมเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย นโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาเด็กปฐมวัย 2550-2559 เป้าหมาย - ส่งเสริมคุณภาพชีวิต - ปกป้องคุ้มครองเด็ก - จัดการศึกษาที่มีคุณภาพ - ต่อต้านการติดเชื้อ HIV ผู้รับผิดชอบ ที่มา : รัตนโนทัย พลับรู้การและคณะ

  35. ความคาดหวังในบทบาทของกุมารแพทย์ความคาดหวังในบทบาทของกุมารแพทย์ • ผลักดันนโยบายการพัฒนาเด็กทุกวัยที่ต่อเนื่อง และยั่งยืน • ผลักดันที่ครอบครัวให้ พ่อ แม่ และผู้เลี้ยงดู มีความรู้ และความเข้าใจในการเลี้ยงดูเด็ก • พัฒนาศูนย์เลี้ยงเด็กก่อนวัยเรียนให้ผู้บริหาร อบต. และ อบจ. ให้ตระหนักในการลงทุนเพื่อเด็ก • การเรียนการสอน การพัฒนาครู การพัฒนาแพทย์ และการพัฒนาบุคลากรทางการแพทย์ให้เห็นความสำคัญในการพัฒนาเด็กตั้งแต่วัยทารก และวัยก่อนเรียนเพื่อให้สอดคล้องกับพัฒนาการทางสมองของเด็ก • มีเครือข่ายองค์กรเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยที่เข้มแข็งและต่อเนื่อง ที่มา : รัตนโนทัย พลับรู้การและคณะ

  36. neoplasms2.2% nervous1.8% musculoskeletal1.3% Repiratory 0.9% 6 - 12 years MORBIDITY ที่มา : สุมิตร สุตรา และ อรุณ จิรวัฒน์กุล 3 พฤศจิกายน 2551

  37. ที่มา : สุมิตร สุตรา และ อรุณ จิรวัฒน์กุล 3 พฤศจิกายน 2551 6 - 12 years

  38. ร้อยละ 7 ของเด็กวัยเรียนไทย ยังมีภาวะเตี้ยกว่าเกณฑ์เสี่ยงต่อสติปัญญาพร่อง ลัดดา เหมาะสุวรรณ และคณะ โครงการวิจัยพัฒนาการแบบองค์รวมของเด็กไทย 2544

  39. ปัญหาสุขภาพจิต • ในเขตกรุงเทพฯ พบความชุกของโรคทางจิตเวชร้อยละ 37.6 • Overanxious disorder 10.8% • Phobia disorder 9.7% • Depressive disorder 7.1% • Conduct disorder 5.5% • Attention deficit hyperactivity disorder 5.1% • Separation anxiety disorder 5% • ภาวะสุขภาพจิตในเด็กที่ประสบอุบัติภัยหรือความรุนแรงเป็นปัญหาอุบัติใหม่ที่น่าจะพบมากขึ้น ลัดดา เหมาะสุวรรณ และคณะ

  40. 22.8 % 60 % Others Hematologic malignancy 4.4% bone & Cartilage 4.5% Thyroid & Endocrine 8.3% CNS. Malignant Neoplasm ที่มา : สุมิตร สุตรา และ อรุณ จิรวัฒน์กุล 3 พฤศจิกายน 2551

  41. Allergy • asthma 12% • allergic rhinoconj. 21% • eczema 9.6% Infection 43% of hospitalization 1.Respiratory infection 2.Dengue fever ปัญหาสายตา 6.2 – 8.7% • Conductive • loss 3.9 – 6.1% • otitis media • impact cerumen • ฟันผุ 57% • DMFT 1.55 ซี่/คน • แปรงฟันที่ รร.ลดลง, ได้รับ บริการเคลือบร่องฟันต่ำมาก เด็ก กทมฯ 6.6% ขาดเรียนเพราะปวดฟัน เฉลี่ย 4.7 วัน ลัดดา เหมาะสุวรรณ และคณะ

  42. ADHD 2.4-8% Conductive hearing loss 3.9 – 6.1% LD 6-9.95 % Vision problem 6.2 – 8.7% 2539-2540 IQ 91.9 2544 IQ 88.1 ร้อยละ 4.1 IQ <70 ผลสัมฤทธิ์จากการสอบของ ป.6 ได้คะแนนเฉลี่ยทุกวิชาไม่ถึง 50 สอบผ่านเกณฑ์ 50 คะแนนเพียงร้อยละ 9.8 Stunted 7% Iron deficeiency anemia 4% Goiter 7% ลัดดา เหมาะสุวรรณ และคณะ

  43. พัฒนาการด้านอารมณ์ สังคม และจริยธรรม • ความสามารถในด้านอารมณ์และสังคมมีผลต่อความสำเร็จในชีวิตที่อาจสำคัญกว่าระดับเชาวน์ปัญญา • เด็กวัยเรียนตอนปลายมีคะแนนสูงในด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ความรับผิดชอบต่อสังคม ความเห็นใจผู้อื่น การสื่อสาร และคุณธรรมจริยธรรม มีคะแนนต่ำในด้านความคิดสร้างสรรค์ การควบคุมอารมณ์ การคิดวิเคราะห์วิจารณ์ การตระหนักรู้ในตนและการแก้ปัญหา(โครงการวิจัยพัฒนาการแบบองค์รวมของเด็กไทย ในปี พ.ศ. 2544) • ความฉลาดทางอารมณ์ของเด็กอายุ 6 -11 ปีเทียบปี พ.ศ. 2545 กับ พ.ศ. 2550:คะแนนด้านความเก่งและความดีลดลง แต่คะแนนความสุขเพิ่มขึ้น(กรมสุขภาพจิต) ลัดดา เหมาะสุวรรณ และคณะ

  44. โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ 6/16 โครงการ: ภาวะโภชนาการเกินในนักเรียนและครู นมโรงเรียน– ป 4 โภชนาการ/อาหาร ปลอดภัย ออกกำลัง กาย ให้คำ ปรึกษา อาหารกลางวัน 10 บ/คน 30% ลดการกินหวาน 3 โครงการ นโยบาย/ บริหารจัดการ สุขศึกษา บริการ อนามัย 2 โครงการ ครูพยาบาลอนามัยเพียง 269 คน (1:750) ชุมชน บุคลากร โครงการของกรมอนามัย 32 กรมสุขภาพจิต 11 กรมควบคุมโรค 14 กรมวิทยศาสตร์การแพทย์ 2 กรมสนับสนุนฯ 2 สิ่งแวดล้อม พัฒนาศักยภาพนักเรียน 3 โครงการ: โครงการเด็กไทยทำได้ โครงการเด็กไทยรู้ทัน โครงการ อย.น้อย กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงสาธารณสุข http://advisor.anamai.moph.go.th/221/22102.html ลัดดา เหมาะสุวรรณ และคณะ

  45. ข้อเสนอแนะแก่ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทยและสมาคมกุมารแพทย์แห่งประเทศไทยข้อเสนอแนะแก่ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทยและสมาคมกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย การฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้านสาขากุมารเวชศาสตร์ • ควรเพิ่มเนื้อหาเกี่ยวกับพัฒนาการด้านสติปัญญาและความฉลาดทางอารมณ์ของเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น • ควรเพิ่มประสบการณ์การเรียนรู้งานด้านอนามัยโรงเรียน • ควรเพิ่มโอกาสให้ผู้รับการฝึกอบรมมีกรอบแนวคิดด้านสังคมและชุมชน และตระหนักถึงอิทธิพลของปัจจัยระดับมหภาคที่มีต่อสุขภาวะของเด็กและครอบครัว เช่น นโยบายรัฐ สื่อ กฎหมาย • ควรผลักดันให้สถาบันฝึกอบรมเป็นต้นแบบของ Children’s friendly hospital โดยอาจกำหนดเป็นหนึ่งองค์ประกอบในการตรวจรับรองสถาบัน ลัดดา เหมาะสุวรรณ และคณะ

  46. ที่มา : สุมิตร สุตรา และ อรุณ จิรวัฒน์กุล 3 พฤศจิกายน 2551 13 - 18 years MORBIDITY 4.7% Intestinal infection 5.3% Respiratory infections 4.4% Other infectious 10.8% Arthropod-borne 3.8% genitourinary 2.5% blood 1.7% skin 1.7% nervous 1.5% 11.2% digestive mental & behavior others 1.7% 23.7% Pregnancy 19.5% injury & poisoning

  47. ที่มา : สุมิตร สุตรา และ อรุณ จิรวัฒน์กุล 3 พฤศจิกายน 2551 13 - 18 years

  48. 26% others 9% abortive outcome 47% Delivery 18% complications of labour and delivery ที่มา : สุมิตร สุตรา และ อรุณ จิรวัฒน์กุล 3 พฤศจิกายน 2551 Teenage Pregnancy

  49. Cases 32370 21771 26% others 10201 9% abortive outcome 3142 47% Delivery 643 18% complications of labour and delivery 144 Years 63 Age Teenage Pregnancy ที่มา : สุมิตร สุตรา และ อรุณ จิรวัฒน์กุล 3 พฤศจิกายน 2551

More Related