1 / 58

การนำมาตรฐานงานสุขศึกษา สู่การปฏิบัติ

การนำมาตรฐานงานสุขศึกษา สู่การปฏิบัติ. มาตรฐานงานสุขศึกษา. 9 องค์ประกอบ. 20 ตัวชี้วัด. เกณฑ์ PCU 66, CUP 75. มาตรฐานงานสุขศึกษา. โครงสร้าง/ปัจจัยนำเข้า. กระบวนการ. พฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์. องค์ประกอบมาตรฐานงานสุขศึกษา. 1. นโยบายการดำเนินงานสุขศึกษาฯ.

webb
Download Presentation

การนำมาตรฐานงานสุขศึกษา สู่การปฏิบัติ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การนำมาตรฐานงานสุขศึกษา สู่การปฏิบัติ

  2. มาตรฐานงานสุขศึกษา 9 องค์ประกอบ 20 ตัวชี้วัด เกณฑ์ PCU 66, CUP 75

  3. มาตรฐานงานสุขศึกษา โครงสร้าง/ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ พฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์

  4. องค์ประกอบมาตรฐานงานสุขศึกษาองค์ประกอบมาตรฐานงานสุขศึกษา 1. นโยบายการดำเนินงานสุขศึกษาฯ 2. ทรัพยากรการดำเนินงานสุขศึกษาฯ 3. การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านการ ดำเนินงานสุขศึกษาฯ

  5. องค์ประกอบมาตรฐานงานสุขศึกษาองค์ประกอบมาตรฐานงานสุขศึกษา 4. แผนการดำเนินงานสุขศึกษาฯ 5. กิจกรรมสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมฯ 6. การนิเทศงานสุขศึกษาฯ

  6. องค์ประกอบมาตรฐานงานสุขศึกษาองค์ประกอบมาตรฐานงานสุขศึกษา 7. การประเมินผลการดำเนินงานสุขศึกษาฯ 8. การเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ 9. การวิจัยที่เกี่ยวข้องกับสุขศึกษาและ พฤติกรรมสุขภาพ

  7. มาตรฐานงาน สุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ มาตรฐาน โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพ มาตรฐาน HA

  8. วิเคราะห์ภาพรวมของ 3 มาตรฐาน • มุ่งที่สุขภาพ และตอบสนองความต้องการของผู้รับ-บริการและประชาชน • ให้ความสำคัญกับเชิงระบบ -มีโครงสร้าง ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ และการประเมินย้อนกลับ รวมถึงการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง • การทำงานเป็นทีม การมีส่วนร่วม เครือข่าย • ให้ความสำคัญกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ • คำนึงถึงหลักการ/มาตรฐานวิชาชีพในการให้บริการ

  9. ความเชื่อมโยงของ H.Ed.A HA HPH หมวด1 ความมุ่งมั่นพัฒนา EDU1 พันธกิจ เป้าหมาย วัตถุประสงค์ องค์1 การนำองค์กรและบริหาร 1.1 วิสัยทัศน์ พันธกิจ ปรัชญา นโยบาย องค์1 นโยบายสุขศึกษา 1.1 มีนโยบาย 1.2 ลักษณะนโยบาย หมวด2 ทรัพยากร& การจัดการ EDU2 การจัดองค์การ&บริหาร EDU3 การจัดคน EDU4 การพัฒนาคน EDU7 เครื่องมืออุปกรณ์ สิ่งอำนวยความสะดวก 1.2 โครงสร้างและผู้รับผิดชอบ องค์2 การบริหาร&พัฒนาทรัพยากร 2.1 การจัดงบประมาณ 2.2 การจัดวัสดุ อุปกรณ์ 2.4 การพัฒนาคน องค์2 ทรัพยากรการดำเนิน-งาน 2.1 มีคนรับผิดชอบงาน HEd 2.2 คุณสมบัติคนรับผิดชอบ 2.3 มีงบประมาณ&การระดมทรัพยากรจากหน่วยงานอื่น/ภาคประชาชน

  10. ความเชื่อมโยงของ H.Ed.A HA HPH (หมวด2 ทรัพยากร&การจัดการ) EDU5 นโยบาย&วิธีปฏิบัติ -มีกระบวนการจัดทำแผน จนท.รับทราบ และมีการประเมิน องค์4 แผนการดำเนินงาน 4.1 มีแผนแม่บท&ปฏิบัติการ 4.2 ลักษณะของแผน องค์5 กิจกรรมการดำเนินงาน 5.1 มีกิจกรรมทั้งในสถานบริการและในชุมชน 5.2 ลักษณะกิจกรรมเป็นตามแผน มุ่งเรียนรู้ พัฒนาทักษะ& ปัจจัยแวดล้อมฯ 5.3 การควบคุมกำกับกิจกรรมองค์6 การนิเทศงาน 6.1-6.2 มีระบบและกลไกนิเทศ (องค์1 การนำและการบริหาร) 1.3 การจัดทำแผนงาน/แผนปฏิบัติการ 1.4กลไกดูแลกำกับติดตามการบริหารงาน ให้มีการปฏิบัติตามแผนและติดตามผล

  11. ความเชื่อมโยงของ H.Ed.A HA HPH หมวด3 กระบวนการพัฒนาคุณภาพ EDU9 กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ (มีการทำ CQI การวิจัย) องค์2 2.3 การพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ (มีการใช้เทคโนโลยี และมีเวทีนำเสนอนวัตกรรม องค์9 การวิจัยเกี่ยวกับ HEd 9.1 มีกิจกรรม/โครงการวิจัย มีรายงานวิจัย การเผยแพร่ นำผลวิจัยไปใช้ องค์3 การจัด สวล.ที่เอื้อต่องาน HPH 3.1 โครงสร้างกายภาพ 3.2 การจัดการด้านกายภาพ 3.3 การจัด สวล. ทางสังคม 3.4 การจัด สวล. ที่กระตุ้นการส่งเสริมสุขภาพ องค์5 กิจกรรมการดำเนินงาน HEd 5.2 มีกิจกรรมการพัฒนาปัจจัยแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ หมวด2 บท5 การบริหาร สวล.&ความปลอดภัย EDU6 สวล. อาคารสถานที่ -มีสถานที่สำหรับประชุม วางแผน จัดบริการ&เก็บโสตสื่อ

  12. H.Ed.A ความเชื่อมโยงของ HA HPH หมวด2 บท7 ระบบสารสนเทศ EDU8 ระบบงานและกระบวนการให้บริการ (มีข้อมูลพฤติกรรม เฝ้าระวังพฤติกรรมฯลฯ) หมวด6 การดูแลรักษาผู้ป่วย บท20 การเตรียมจำหน่ายและการดูแลต่อเนื่อง องค์4-6 การส่งเสริมสุขภาพบุคลากรรพ. ผู้รับบริการ และในชุมชน - ระบบข้อมูลสุขภาพ&พฤติกรรม ของบุคลากร ผู้รับบริการ - มีกฎระเบียบ&กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพบุคลากร ผป.&ญาติ - บริการข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพ -การสร้างชุมชนให้เข้มแข็ง องค์3 ระบบข้อมูลด้าน HEd - มีฐานข้อมูลด้านสุขศึกษาและพฤติกรรม ด้านสื่อ และเครือข่ายการดำเนินงานสุขศึกษา องค์5 กิจกรรม HEd - มีกิจกรรม Hed ทั้งในสถานบริการและในชุมชน องค์8 การเฝ้าระวังพฤติกรรม -มีระบบและกลไกการเฝ้าระวัง

  13. ความเชื่อมโยงของ H.Ed.A HA HPH องค์7 ผลลัพธ์ของกระบวนการส่งเสริมสุขภาพ 7.1 พฤติกรรมและสภาวะสุขภาพเจ้าหน้าที่ 7.2 พฤติกรรมและสภาวะสุขภาพผู้รับบริการ 7.3 พฤติกรรมและสภาวะสุขภาพชุมชน องค์7 การประเมินผลฯ HEd - มีระบบและกลไกการประเมินผล =>ทราบพฤติกรรมสุขภาพที่เปลี่ยนแปลง และอาจวัดถึงผลกระทบต่อ สุขภาพ องค์8 การเฝ้าระวังพฤติกรรม - มีระบบและกลไกการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพที่เป็นปัญหาในท้องถิ่น=>มีข้อมูลสถานการณ์พฤติกรรมสุขภาพ EDU8 ระบบงานและกระบวนการให้บริการ -มีการประเมินผลกระบวนการ/ผลลัพธ์โครงการ

  14. มาตรฐานงานสุขศึกษาของสถานบริการสาธารณสุข : แนวทางการประเมินการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานงานสุขศึกษา

  15. CUP หน่วยบริหารเครือข่ายบริการปฐมภูมิ สสอ. รพ. PCU สอ. PCU รพ. PCU รพ. PCU สอ. PCU สอ.

  16. องค์ 1 นโยบายการดำเนินงานสุขศึกษาฯ 1.1 การมีนโยบาย 1.2 ลักษณะของนโยบาย -สอดคล้องกับนโยบาย หน่วยเหนือ CUP, ปัญหา สธ.-เกิดจากการมีส่วนร่วมของภาครัฐ ประชาชน -เป็นที่รับรู้ของ CUP,จนท. ตัวแทนประชาชน

  17. ตัวอย่างการประเมินองค์ 1 นโยบายฯ -ศึกษาวิสัยทัศน์ พันธกิจ นโยบาย ยุทธศาสตร์ของสถานบริการ สธ. (จากเอกสาร สัมภาษณ์ผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติ ตัวแทนประชาชน) ว่ามีประเด็นการสร้างสุขภาพ การส่งเสริมสุขภาพการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพหรือไม่ - ที่มาของนโยบาย และความสอดคล้องกับนโยบายหน่วยเหนือ, ปัญหา สธ.พื้นที่ และใครบ้างมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบาย (ผู้ปฏิบัติ หน่วยงานอื่น ภาคประชาชน) -สอบถามการรับรู้นโยบายของ CUP, จนท., ตัวแทนประชาชน

  18. องค์ 2 ทรัพยากรการดำเนินงานสุขศึกษาฯ 2.1 บุคลากรที่รับผิดชอบการดำเนินงานฯ -มีผู้รับผิดชอบการดำเนินงานสุขศึกษาฯ -มีการกำหนดบุคลากรรับผิดชอบงานสุขศึกษาฯ ตามพื้นที่และจำนวนประชากร

  19. องค์ 2 ทรัพยากรการดำเนินงานสุขศึกษาฯ (ต่อ) 2.2 คุณสมบัติของบุคลากรที่รับผิดชอบการดำเนินงานสุขศึกษาฯ -จบการศึกษา/ผ่านการฝึกอบรม/พัฒนาเรื่องสุขศึกษาฯ -ได้รับการพัฒนาด้านสุขศึกษาฯ อย่างน้อย 1 ครั้ง/ปี

  20. ตัวอย่างการประเมินองค์ 2 บุคลากรฯ -ศึกษาผังโครงสร้างบุคลากร การกำหนดบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบด้านงานสุขศึกษา การแบ่งงานตามพื้นที่/งาน ที่ครอบคลุมพื้นที่ที่รับผิดชอบ/ประชากร - กรณี รพท. รพศ. มีจำนวนตามกรอบ? มีผลงานวิชาการ? -ศึกษาข้อมูลคุณสมบัติการศึกษา/ฝึกอบรม ของผู้รับผิดชอบงานสุขศึกษา และประวัติการฝึกอบรม/พัฒนาด้านสุขศึกษาโดยตรงหรือเกี่ยวข้องกับการพัฒนาพฤติกรรมในรอบ 1ปี -สัมภาษณ์ผู้รับผิดชอบงานสุขศึกษา และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับการมอบหมายงาน จำนวน และการพัฒนาบุคลากร

  21. องค์ 2 ทรัพยากรการดำเนินงานสุขศึกษาฯ 2.3 งบประมาณเพื่อการดำเนินงานสุขศึกษาฯ -ได้งบฯ จาก CUP เพื่อการดำเนินงานสุขศึกษาฯ -มีการระดมทรัพยากร/งบประมาณ -ได้รับงบฯ เพียงพอกับการดำเนินกิจกรรมตามแผน

  22. ตัวอย่างการประเมินองค์ 2 งบประมาณฯ -ศึกษาแผนงานโครงการสุขศึกษาและรายงานสรุปโครงการการใช้เงินงบประมาณ -สัมภาษณ์ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่เกี่ยวกับแหล่งงบประมาณ (CUP, NonUC, องค์กรปกครองท้องถิ่น, NGO, ประชาชน) และการสนับสนุนงบประมาณ ความพอเพียงของงบประมาณในการดำเนินงานตามแผน

  23. องค์ 3 การพัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศฯ 3.1 ด้านสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ 3.2 ด้านสื่อสุขศึกษา 3.3 ด้านเครือข่ายการดำเนินงานสุขศึกษา -มีการจัดระบบและจำแนกประเภท -เชื่อถือและตรวจสอบได้ -เป็นปัจจุบัน -มีการนำมาใช้

  24. ตัวอย่างการประเมินองค์ 3 ระบบฐานข้อมูลสารสนเทศฯ -ศึกษาฐานข้อมูลในรูปเอกสาร แฟ้ม หรือ file (IT) ข้อมูล ของหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องกับสุขศึกษาและพฤติกรรม สื่อสุขศึกษา และเครือข่ายการดำเนินงาน -การจัดระบบฐานข้อมูลเป็นหมวดหมู่ ให้เข้าถึง ค้นหาง่ายหรือไม่ การปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันอย่างน้อยทุก 1 ปี ความครอบคลุมของฐานข้อมูล -สัมภาษณ์ผู้บริหาร ผู้รับผิดชอบและเจ้าหน้าที่เกี่ยวกับแหล่งที่มาของข้อมูล การนำข้อมูลมาใช้ประโยชน์ และปัญหาอุปสรรคที่พบ

  25. องค์ 4 การมีแผนการดำเนินงานสุขศึกษาฯ 4.1 การมีแผนการดำเนินงานสุขศึกษาฯ 4.2 ลักษณะของแผนการดำเนินงานสุขศึกษา -สอดคล้องกับแผนแม่บทของ CUP, ปัญหา สธ.ในพื้นที่ -ใช้ข้อมูลในการวางแผน -ครอบคลุมการเรียนรู้ ทักษะ พัฒนาปัจจัยแวดล้อม -เกิดจากการมีส่วนร่วม -มีการถ่ายทอดสู่ผู้ปฏิบัติ

  26. ตัวอย่างการประเมินองค์ 4 การมีแผนฯ -ศึกษาแผนงานโครงการสุขศึกษา หรือโครงการสาธารณสุขที่มีการดำเนินงานสุขศึกษา ว่ามีอะไรบ้าง และดูวัตถุประสงค์ กิจกรรม และตัวชี้วัดของแผนที่ต้องมีเรื่องสุขศึกษาและการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งลักษณะกิจกรรมสุขศึกษาสอดคล้องกับปัจจัยของพฤติกรรม

  27. ปัญหาสาธารณสุข สาเหตุด้านพฤติกรรม สาเหตุอื่น ๆ ปัจจัยนำ ปัจจัยเอื้อ ปัจจัยเสริม

  28. ปัจจัยนำ ปัจจัยภายในบุคคล ที่จูงใจให้บุคคลมีแนวโน้ม ที่จะปฏิบัติ หรือไม่ปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพ • ความรู้ • ทัศนคติ • ความเชื่อ/การรับรู้ • ค่านิยม • ความตั้งใจ ปรับเปลี่ยนด้วยการจัดการเรียนรู้

  29. ปัจจัยเอื้อ สิ่งที่จำเป็นต่อการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพ ปรับเปลี่ยนโดยพัฒนาทักษที่ จำเป็น และ การจัดปัจจัยแวดล้อมที่เอื้อต่อพฤติกรรม • ทักษะที่จำเป็นในการปฏิบัติ • การมี การเข้าถึง การยอมรับ วัสดุ อุปกรณ์ บริการ กิจกรรมเพื่อสุขภาพ

  30. ปัจจัยเสริม ปัจจัยแวดล้อมภายนอก ที่เกี่ยวข้องกับ คำชมเชย ความสนใจ การยอมรับ เห็นพ้อง ติเตียน ลงโทษ จากบุคคลหรือกลุ่มบุคคล ปรับเปลี่ยนโดยจัดการเรียนรู้ให้บุคคลรอบข้าง ให้สนับสนุนและช่วยจัดปัจจัย แวดล้อมที่เอื้อ ต่อพฤติกรรม

  31. ตัวอย่างการประเมินองค์ 4 การมีแผนฯ (ต่อ) -ศึกษาแผนงานโครงการสุขศึกษา หรือโครงการสาธารณสุขที่มีการดำเนินงานสุขศึกษา ว่ามีอะไรบ้าง และดูวัตถุประสงค์ กิจกรรม และตัวชี้วัดของแผนที่ต้องมีเรื่องสุขศึกษาและการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งลักษณะกิจกรรมสุขศึกษาสอดคล้องกับปัจจัยของพฤติกรรม -สอบถามกระบวนการจัดทำแผน การใช้นโยบาย&ข้อมูลในการวางแผน การมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องในการจัดทำแผน -สอบถามผู้บริหาร ผู้รับผิดชอบ และผู้ปฏิบัติถึงวิธีการถ่ายทอดแผน

  32. องค์ 5 กิจกรรมสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมฯ 5.1 การมีกิจกรรมสุขศึกษาฯ 5.2 ลักษณะของการจัดกิจกรรมสุขศึกษา -จัดตามแผนที่วางไว้ -มุ่งให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะที่จำเป็น พัฒนาปัจจัยแวดล้อม

  33. องค์ 5 กิจกรรมสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมฯ (ต่อ) 5.3 การควบคุมกำกับกิจกรรมสุขศึกษาฯตามแผนงานสุขศึกษา -ครอบคลุม ด้านพื้นที่เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย กิจกรรม เวลา และการประเมินผลการดำเนิน กิจกรรม

  34. ตัวอย่างการประเมินองค์ 5 กิจกรรมสุขศึกษาฯ -สัมภาษณ์ผู้รับผิดชอบ ผู้ปฏิบัติ และผู้รับบริการ/ประชาชนในชุมชน เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมสุขศึกษา โดยเปรียบเทียบกับแผนที่เขียนไว้ และการเรียนรู้ที่ผู้รับบริการ/ชุมชนได้รับ -สังเกตการจัดกิจกรรมสุขศึกษาของหน่วยงาน ว่าครอบคลุมทั้งกลุ่มเป้าหมายในสถานบริการและชุมชน การให้กลุ่มเป้าหมายมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ ได้ฝึกทักษะสุขภาพ การจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีพฤติกรรมสุขภาพ เช่น มีอ่างล้างมือ ร้านขายสินค้าสุขภาพ มีสวนให้ออกกำลังกาย -มีกลไกการควบคุมกำกับและประเมินผลการจัดกิจกรรม เช่น มีการรายงานผลการจัดกิจกรรม และมีการทำตารางกำกับและติดตามงาน มีการประชุมติดตามการดำเนินงาน เป็นต้น

  35. องค์ 6การนิเทศงานสุขศึกษาฯ 6.1 ระบบการนิเทศงานสุขศึกษาฯ -มีผู้รับผิดชอบการนิเทศงานสุขศึกษา -มีทรัพยากรสนับสนุนการนิเทศ 6.2 กลไกการนิเทศงานสุขศึกษาฯ -มีแผนการนิเทศ -มีการนิเทศตามแผน -มีการรายงานผล -นำผลการนิเทศไปปรับปรุงงาน

  36. ตัวอย่างการประเมินองค์ 6 การนิเทศฯ -ศึกษาผังโครงสร้างของหน่วยงาน ว่ามีการกำหนดบุคคล/กลุ่มบุคคล และบทบาทของการนิเทศงานสุขศึกษา รวมทั้งแผนการนิเทศ และงบประมาณที่กำหนดและได้รับการจัดสรร -ศึกษารายงานการนิเทศงานว่าเป็นไปตามแผนหรือไม่ และข้อเสนอแนะอะไร -สัมภาษณ์ผู้บริหาร ผู้รับผิดชอบและเจ้าหน้าที่เกี่ยวกับการนิเทศงาน และการนำผลที่ได้จากการนิเทศไปใช้ในการพัฒนางาน พร้อมขอดูแผน/กิจกรรม ที่เกิดจากการพัฒนาดังกล่าว

  37. องค์ 7การประเมินผลการดำเนินงานสุขศึกษาฯ 7.1 ระบบการประเมินผลงานสุขศึกษาฯ -มีผู้รับผิดชอบการประเมินผลงานสุขศึกษา -มีทรัพยากรสนับสนุนการประเมินผล 7.2 กลไกการประเมินผลงานสุขศึกษาฯ -มีแผนการประเมินผล -มีการประเมินผล -มีการรายงานผล -นำผลการประเมินไปใช้

  38. ตัวอย่างการประเมินองค์ 7 การประเมินผลฯ -ศึกษาผังโครงสร้างของหน่วยงาน ว่ามีการกำหนดบุคคล/กลุ่มบุคคล และบทบาทของการประเมินผลงานสุขศึกษา รวมทั้งแผนการประเมินผล และงบประมาณที่กำหนดและได้รับการจัดสรร -ศึกษารายงานการประเมินว่าเป็นไปตามแผนหรือไม่ การประเมินได้กำหนดตัวชี้วัดที่เหมาะสม และน่าเชื่อถือ? และมีข้อเสนอแนะอะไร -สัมภาษณ์ผู้บริหาร ผู้รับผิดชอบและเจ้าหน้าที่เกี่ยวกับการประเมินผล และการนำผลประเมินที่ได้ไปใช้ในการพัฒนางาน พร้อมขอดูหลักฐาน

  39. องค์ 8การเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ 8.1 ระบบการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ -มีการกำหนดภารกิจการเฝ้าระวังพฤติกรรมฯ -มีผู้รับผิดชอบ -มีทรัพยากรสนับสนุน 8.2 กลไกการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ -มีแผนการเฝ้าระวัง -มีการดำเนินงานเฝ้าระวัง -มีการรายงานผล -นำผลการเฝ้าระวังไปใช้

  40. ตัวอย่างการประเมินองค์ 8 การเฝ้าระวังพฤติกรรมฯ -ศึกษาผังโครงสร้างของหน่วยงาน ว่ามีบุคคล/กลุ่มบุคคล และ ภารกิจของการเฝ้าระวังพฤติกรรม รวมทั้งแผนการเฝ้าระวัง และได้รับการจัดสรรงบประมาณ -ศึกษารายงานการเฝ้าระวังว่ามีการดำเนินงานตามแผนหรือไม่ มีการเฝ้าระวังพฤติกรรมที่สำคัญ วิธีการ/เครื่องมือเฝ้าระวัง ความถี่ ความต่อเนื่อง และมีข้อเสนอแนะอะไร -สัมภาษณ์ผู้บริหาร ผู้รับผิดชอบและเจ้าหน้าที่เกี่ยวกับการเฝ้าระวัง และการนำข้อมูลการเฝ้าระวังไปใช้ในการพัฒนางาน พร้อมขอดูหลักฐาน

  41. องค์ 9การวิจัยที่เกี่ยวข้องกับสุขศึกษาฯ 9.1 การวิจัยที่เกี่ยวข้องกับสุขศึกษาฯ -มีแผน/โครงการ/กิจกรรมการวิจัย -กิจกรรมการวิจัยสอดคล้องกับความต้องการในการดำเนินงานสุขศึกษาฯ -มีการรายงานผลการวิจัย -มีการนำผลการวิจัยไปใช้

  42. ตัวอย่างการประเมินองค์ 9 การวิจัยฯ -ศึกษาแผน/โครงการ/กิจกรรมการวิจัยด้านสุขศึกษาของหน่วยงาน และ/หรือรายงานการวิจัย -วิเคราะห์ความสอดคล้องของงานวิจัยกับปัญหา/ความต้องการในการดำเนินงานสุขศึกษาของพื้นที่ -สัมภาษณ์การนำผลวิจัยไปใช้ในการพัฒนางาน พร้อมขอดูหลักฐาน

  43. ขั้นตอนการพัฒนางานสุขศึกษาตามมาตรฐานงานสุขศึกษาขั้นตอนการพัฒนางานสุขศึกษาตามมาตรฐานงานสุขศึกษา ประเมินตนเอง รับการประเมินภายนอก รับการประเมินภายในโดยทีม จว. OK เปรียบเทียบกับมาตรฐาน ไม่ OK พร้อมรับการประเมิน พัฒนาส่วนขาด

  44. วิธีการประเมินตนเอง Check list ตามรายการในแต่ละองค์ประกอบและดัชนี ตาม มส.1

  45. ตัวอย่าง แบบประเมินตนเองมส.1

  46. องค์ประกอบ 1 นโยบายการดำเนินงานสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ (มส.1) ผลการประเมิน ดัชนีชี้วัด / เกณฑ์ หลักฐานหรือข้อมูลยืนยัน หมายเหตุ ไม่มี มีครบ มีบางส่วน 1.1 การมีนโยบายการดำเนินงานสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ 1.1.1 มีนโยบายการดำเนินงานสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพของสถานบริการสาธารณสุขเป็นลายลักษณ์อักษร …… …... …... 1.1.1…… … ………………… ……………..

  47. วิธีการประเมินตนเอง (ต่อ) Check list ตามรายการในแต่ละดัชนี มส.1 มีครบ = 2, มีบางส่วน = 1, ไม่มี = 0 คะแนน กรอกคะแนน และคำนวณคะแนน แต่ละดัชนีเป็น % ตามแบบ มส.2

  48. การตัดสินผ่านรายดัชนีการตัดสินผ่านรายดัชนี คะแนนที่ได้จริง X 100 คะแนนรวมของเกณฑ์ทั้งหมดในดัชนี นำ % ที่ได้เทียบกับเกณฑ์ผ่านแต่ละดัชนี ที่ระบุไว้ใน มส.2

  49. ตัวอย่าง แบบประเมินตนเองมส.2

  50. คะแนนที่ได้ x 100 2 คะแนนที่ได้ x 100 12 = % = % แบบการวิเคราะห์การประเมินตนเองตามมาตรฐานงานสุขศึกษาของสถานบริการสาธารณสุขปฐมภูมิ (มส.2) คะแนน ที่ได้ ผลลัพธ์ เกณฑ์ ผ่าน องค์ประกอบ / ดัชนีชี้วัด การคำนวณ ไม่ผ่าน ผ่าน 1. นโยบายการดำเนินงานสุขศึกษา และพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ 1.1 การมีนโยบายการดำเนินงานสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ 1.2 ลักษณะของนโยบายดำเนินงานสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ 50% 66.66%

More Related