1 / 51

บทที่ 5

บทที่ 5. รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทศ. อ.สายสุนีย์ เจริญสุข คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจ sai_ngaim@hotmail.com. 1. รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์. หัวข้อที่ศึกษา. รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์.

wendell
Download Presentation

บทที่ 5

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 5 รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์และการประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทศ อ.สายสุนีย์ เจริญสุข คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจ sai_ngaim@hotmail.com

  2. 1 • รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ หัวข้อที่ศึกษา

  3. รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ • รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ หรือ e-Government (Electronic Government)คือการที่ภาครัฐนำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการและให้บริการประชาชนและภาคธุรกิจเอกชน

  4. รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ • รัฐ กับ ประชาชน (G2C) • รัฐ กับ เอกชน (G2B) • รัฐ กับ รัฐ (G2G) • รัฐ กับ ข้าราชการและพนักงานของรัฐ (G2E)

  5. รัฐ กับ ประชาชน (G2C) เป็นการให้บริการของรัฐสู่ประชาชนโดยตรง โดยที่บริการดังกล่าวประชาชนจะสามารถดำเนินธุรกรรมโดยผ่านเครือข่ายสารสนเทศของรัฐ เช่น การชำระภาษี การจดทะเบียน การจ่ายค่าปรับ การรับฟังความคิดเห็นของประชาชน การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างตัวแทนประชาชนกับผู้ลงคะแนนเสียงและการค้นหาข้อมูลของรัฐที่ดำเนินการให้บริการข้อมูลผ่านเว็บไซต์ เป็นต้น โดยที่การดำเนินการต่าง ๆ นั้นจะต้องเป็นการทำงานแบบ Online และ Real Time มีการรับรองและการโต้ตอบที่มีปฏิสัมพันธ์

  6. รัฐ กับ เอกชน (G2B) เป็นการให้บริการภาคธุรกิจเอกชน โดยที่รัฐจะอำนวยความสะดวกต่อภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมให้สามารถแข่งขันกันโดยความเร็วสูง มีประสิทธิภาพ และมีข้อมูลที่ถูกต้องอย่างเป็นธรรมและโปร่งใส เช่น การจดทะเบียนทางการค้า การลงทุน และการส่งเสริมการลงทุน การจัดซื้อจัดจ้างทางอิเล็กทรอนิกส์ การส่งออกและนำเข้า การชำระภาษี และการช่วยเหลือผู้ประกอบการขนาดกลางและเล็ก

  7. รัฐ กับ รัฐ (G2G) เป็นรูปแบบการทำงานที่เปลี่ยนแปลงไปมากของหน่วยราชการ ที่การติดต่อสื่อสารระหว่างกันโดยกระดาษและลายเซ็นในระบบเดิมในระบบราชการเดิม จะมีการเปลี่ยนแปลงไปด้วยการใช้ระบบเครือข่ายสารสนเทศ และ ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์เป็นเครื่องมือในการแลกเปลี่ยนข้อมูลอย่างเป็นทางการเพื่อเพิ่มความเร็วในการดำเนินการ (Economy of Speed) ลดระยะเวลาในการส่งเอกสารและข้อมูลระหว่างกัน นอกจากนั้นยังเป็นการบูรณาการการให้บริการระหว่างหน่วยงานภาครัฐโดยการใช้การเชื่อมต่อโครงข่ายสารสนเทศเพื่อเอื้อให้เกิดการทำงานร่วมกัน (Collaboration) และการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน (Government Data Exchange) ทั้งนี้รวมไปถึงการเชื่อมโยงกับรัฐบาลของต่างชาติ และองค์กรปกครองท้องถิ่นอีกด้วย ระบบงานต่าง ๆ ที่ใช้ในเรื่องนี้ ได้แก่ ระบบงาน Back Office ต่าง ๆ ได้แก่ ระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ระบบบัญชีและการเงินระบบจัดซื้อจัดจ้างด้วยอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น อย่างไรก็ดี จะต้องมีกระบวนการในการลดแรงต่อต้านของบุคลากรที่คุ้นเคยกับการทำงานในระบบเดิม

  8. รัฐ กับ ข้าราชการและพนักงานของรัฐ (G2E) เป็นการให้บริการที่จำเป็นของพนักงานของรัฐ (Employee) กับรัฐบาล โดยที่จะสร้างระบบเพื่อช่วยให้เกิดเครื่องมือที่จำเป็นในการปฏิบัติงาน และการดำรงชีวิต เช่น ระบบสวัสดิการ ระบบที่ปรึกษาทางกฎหมาย และข้อบังคับในการปฏิบัติราชการ ระบบการพัฒนาบุคลากรภาครัฐ เป็นต้น

  9. ตัวอย่างระบบรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทยตัวอย่างระบบรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย • ระบบทะเบียนราษฎร • ระบบบัตรประชาชนอิเล็กทรอนิกส์ • ระบบภาษีเงินได้ • ระบบภาษีศุลกากร • ระบบทะเบียนการค้า: www.thairegistration.com • ระบบจ่ายค่าธรรมเนียมโรงงานอุตสาหกรรม

  10. การประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทศในสาขาการศึกษาการประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทศในสาขาการศึกษา • การเรียนรู้แบบออนไลน์ (E-learning) • บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction-CAI) • วีดิทัศน์ตามอัธยาศัย (Video on Demand - VOD) • หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-books ) • ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (E-library)

  11. การเรียนรู้แบบออนไลน์ (E-learning) • การเรียนการสอนโดยอาศัยเครื่องมือการติดต่อสื่อสารที่ทันสมัย สำหรับทุกคนที่สามารถเรียนรู้ได้ทุกเวลา และทุกสถานที่ (Learn for all : anyone, anywhere and anytime)

  12. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction-CAI) • มีเนื้อหาวิชา นำเสนอจะอยู่ในรูปมัลติมีเดีย • แบบฝึกหัด • การทดสอบ • การให้ข้อมูลป้อนกลับให้ผู้เรียนได้ตอบสนองต่อบทเรียนได้ตามระดับความสามารถของตนเอง อักษร ภาพ ภาพเคลื่อนไหว และเสียง

  13. วีดิทัศน์ตามอัธยาศัย (Video on Demand - VOD) • ต้องใช้โปรแกรมในการสร้างฐานข้อมูลวีดิทัศน์ เก็บข้อมูล ค้นหาข้อมูล แก้ไข ปรับปรุงข้อมูลรักษาความปลอดภัยของข้อมูล และจัดทำข้อมูลสำรอง • โปรแกรมที่เรียกว่า ระบบการจัดการฐานข้อมูล(Database Management System: DBMS) ซึ่งโปรแกรมที่ได้รับความนิยมในการจัดการฐานข้อมูล ได้แก่ Microsoft Access, Oracle, Informix, dBase, FoxPro, และ Paradox เป็นต้น

  14. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-books ) • หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่อ่านได้ทางอินเทอร์เน็ต • เครื่องมือที่จำเป็นต้องมีในการอ่านหนังสือประเภทนี้ก็คือฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ที่ใช้อ่านข้อความต่างๆ • การดึงข้อมูล E-books ซึ่งจะอยู่บนเว็บไซต์ที่ให้บริการทางด้านนี้มาอ่านก็จะใช้วิธีการดาวน์โหลดผ่านทางอินเทอร์เน็ตเป็นส่วนใหญ่

  15. ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (E-library) • การให้บริการงานห้องสมุดมาเป็นระบบอัตโนมัติ ได้แก่ • ระบบที่สามารถให้บริการและตรวจสอบได้ • ระบบบริการยืม - คืน ทรัพยากรด้วยแถบรหัสบาร์โค้ด • ระบบบริการสืบค้นข้อมูลทรัพยากร • ระบบตรวจเช็คสถิติการใช้บริการห้องสมุด • ระบบตรวจเช็คสถิติการยืม – คืนทรัพยากร • การสำรวจทรัพยากรประจำปี • การพิมพ์บาร์โค้ดทรัพยากรและสมาชิก

  16. การประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทศในสาขาธุรกิจ พาณิชยและสํานักงาน E-commerce: Electronic Commerce • E-Commerce • E-Business • การแลกเปลี่ยนขอมูลทางอิเล็กทรอนิกส (Electronic Data Interchange: EDI) • ระบบสํานักงานอัตโนมัติ

  17. E-commerce • การทําธุรกรรรมในเชิงธุรกิจทุกประเภทที่กระทําผานสื่ออิเล็กทรอนิกส ซึ่งรวมทั้งกิจกรรมการซื้อขาย การแลกเปลี่ยนสินคาและกิจกรรมตางๆ ที่เกี่ยวของ เชน การโฆษณา การประชาสัมพันธ การสงสินค้า การชําระเงิน และการบริการดานขอมูล

  18. E-Business • E-business มีขอบเขตที่กว้างกว่า E-commerce • การพิจารณาถึงองค์ประกอบทุกส่วนของการดำเนินธุรกิจ มิได้เฉพาะกิจกรรมการซื้อ-ขาย แต่เป็นการปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ทางธุรกิจผนวกกับเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อดำเนินธุรกรรมต่าง ๆ และปรับปรุงธุรกิจให้ สามารถดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และช่วยเพิ่มศักยภาพของธุรกิจด้วยการดำเนินธุรกิจให้กลายเป็นรูปแบบ Online และครอบคลุมได้ทั่วโลก

  19. E-Business

  20. การแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Interchange: EDI • เทคโนโลยีที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการรับ-ส่งเอกสารจากหน่วยงานหนึ่งไปยังอีกหน่วยงานหนึ่งโดยส่งผ่านเครือข่าย เช่น โทรศัพท์ สายเคเบิล ดาวเทียม เป็นต้น แทนการส่งเอกสารโดยพนักงานส่งสารหรือไปรษณีย์ • ระบบ EDI จะต้องใช้รูปแบบของเอกสารที่เป็นมาตรฐานต่างๆ เช่น ใบส่งของ ในรูปของอิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอเพื่อให้หน่วยงานทางธุรกิจหรือองค์กรต่างๆ สามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ

  21. ระบบสำนักงานอัตโนมัติระบบสำนักงานอัตโนมัติ • สำนักงานได้นำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาประยุกต์ใช้อย่างแพร่หลาย เพื่อให้งานบังเกิดผลในด้านบวก อาทิ ความสะดวกรวดเร็ว ความถูกต้อง และสามารถทำสำเนาได้เป็นจำนวนมาก เป็นต้น • อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศที่นำมาใช้ได้แก่ เครื่องพิมพ์ดีดอิเล็กทรอนิกส์ โทรศัพท์ เทเลเท็กซ์ เครื่องเขียนตามคำบอกอัตโนมัติ (Dictating Machines) เครื่องอ่านและบันทึกวัสดุย่อส่วน เครื่องถ่ายเอกสารแบบหน่วยความจำ เครื่องโทรสาร ฯลฯ • อุปกรณ์เหล่านี้ นำไปประยุกต์ใช้กับงานสำนักงาน ดังนั้นการนำเทคโนโลยีเหล่านี้มาใช้ในระบบสำนักงาน จึงเรียกว่า ระบบสำนักงานอัตโนมัติ

  22. สำนักงานอัตโนมัติ (Office Automation) อุปกรณ์สำนักงาน

  23. การประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทศในสาขาอุตสาหกรรมและการผลิตการประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทศในสาขาอุตสาหกรรมและการผลิต • การใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System-MIS) ชวยจัดการงานดานการผลิต การสั่งซื้อ การพัสดุ การเงิน บุคลากร และงานดานอื่นๆ ในโรงงาน • ตัวอยางการใชเทคโนโลยีสารสนเทศในงานอุตสาหกรรม • อุตสาหกรรมการผลิตรถยนต มีการใชคอมพิวเตอรออกแบบรถยนต ปฏิบัติการการผลิต (เชน การพนสี การเชื่อมอุปกรณตางๆ เขาดวยกัน ฯลฯ) การขับเคลื่อน การบริการ และการขาย รวมทั้งออกแบบระบบคอมพิวเตอรใหสามารถปฏิบัติงานในโรงงานไดในรูปแบบหุนยนต

  24. การประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทศในสาขาธุรกิจ พาณิชยและสํานักงาน E-commerce: Electronic Commerce • ระบบแพทยทางไกล (Telemedicine) • ระบบการปรึกษาแพทยทางไกล (Medical Consultation) • ระบบเชื่อมเครือขายขอมูลและโทรศัพท (Data and Voice Network)

  25. ระบบแพทยทางไกล (Telemedicine) • การประยุกต์เทคโนโลยีทางด้านโทรคมนาคม การติดต่อสื่อสารเพื่อใช้งานทางการแพทย์ โดยส่งผ่านสื่อต่างๆ ทำให้สามารถให้แลกเปลี่ยนข้อมูลคนไข้ระหว่างกันได้

  26. ระบบการปรึกษาแพทยทางไกล (Medical Consultation) • ระบบการปรึกษาแพทย์ทางไกลเป็นระบบการปรึกษาระหว่างโรงพยาบาลกับ โรงพยาบาล (One to One) ซึ่งจะสามารถใช้งานพร้อมๆ กันได้ • ตัวอย่าง ในเวลาเดียวกัน • โรงพยาบาลที่ 1 ปรึกษากับโรงพยาบาล ที่ 2 • โรงพยาบาลที่ 3 สามารถขอคำปรึกษาจากโรงพยาบาลที่ 4 • โรงพยาบาลที่ 5 สามารถขอคำปรึกษาจาก โรงพยาบาลที่ 6

  27. ระบบเชื่อมเครือขายขอมูลและโทรศัพท (Data and Voice Network) • ระบบเชื่อมเครือขายขอมูลจากโรงพยาบาลตางๆ ซึ่งเปนจุดติดตั้ งของโครงการฯ มายังสํานักเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อใหสามารถใชบริการทางด้านเครือขายขอมูลตางๆ ได้แก่ • ระบบ CD-ROM Serverเปนระบบที่ใหบริการฐานขอมูลทางการแพทยจํานวน 5ฐานขอมูล • ระบบ ฐานขอมูลกระทรวงสาธารณสุข

  28. การประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทศในสาขาการสื่อสารและโทรคมนาคมการประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทศในสาขาการสื่อสารและโทรคมนาคม • ดาวเทียม (Satellite) • โครงขายบริการสื่อสารรวมระบบดิจิทัล (Integrated Service Digital Netwonk- ISDN) • โทรสาร (Facsimile) • โทรภาพสาร (Teletext) • ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส (Electronic mail: E-mail) • การประชุมทางไกล (Teleconference)

  29. ดาวเทียม (Satellite) ประเภทของดาวเทียมจำแนกได้หลายประเภทซึ่งขึ้นกับลักษณะการใช้งาน ได้แก่ • ดาวเทียมนำทาง (Navigational Satellite) ดาวเทียมประเภทนี้ใช้ประโยชน์มากในเรือดำน้ำ การวางแผนเส้นทางเดินเรือและเส้นทางการบิน • ดาวเทียมสำรวจทรัพยากรบนผิวโลกและในมหาสมุทร (Earth and Ocean Resources Satellite) มีจุดประสงค์เพื่อใช้ศึกษาธรณีวิทยา พืชพรรณ ตลอดจนมหาสมุทร • ดาวเทียมโทรคมนาคม (Telecommunication Satellite) ใช้ในกิจการการสื่อสารในระดับโลก ระดับภูมิภาค และระดับประเทศ

  30. โครงขายบริการสื่อสารรวมระบบดิจิทัล (Integrated Service Digital Netwonk- ISDN) • ระบบที่องคการโทรศัพทแหงประเทศไทยนํามาใชเพื่อใหบริการสงขอมูลในระบบดิจิทัลที่สามารถสงทั้งสัญญาณ เสียง และขอมูลตางๆ รวมไปในสายเสนเดียวกัน • ระบบ ISDN เปนแบบดิจิทัลทั้งหมด ทําใหความเพี้ยนของสัญญาณมีนอยมาก ตลอดจนสิ่งรบกวน(Noise) ก็จะลดนอยลง • การบริการของระบบที่เพิ่มขึ้นได้แก่ระบบโทรศัพทแบบใหมซึ่งสามารถแสดงหมายเลขโทรศัพท ชื่อ ตลอดจนที่อยูของผูที่เรียก การติดตอเพื่อพูดคุยพรอมกันหลายๆ สายได และระบบไปรษณียเสียง (voice mail)

  31. Integrated Service Digital Network- ISDN

  32. โทรสาร(Facsimile) • อุปกรณ์การสื่อสารข้อมูล ประดิษฐ์ขึ้นเพื่อส่งผ่านสารสนเทศจากต้นแหล่งไปยังผู้รับปลายทาง • การทำงานเป็นกระบวนการที่เครื่องส่งฉายแสงไปที่เอกสาร รูปถ่าย ภาพเขียน หรือสัญลักษณ์ต่างๆ อันเป็นต้นฉบับ เพื่อเปลี่ยนภาพหรืออักษรเป็นสัญญาณไฟฟ้า แล้วส่งไปตามช่องทางคมนาคมต่างๆ อาทิ ไมโครเวฟ สายโทรศัพท์ เครื่องส่งวิทยุ เมื่อเครื่องรับปลายทางได้รับสัญญาณดังกล่าว ก็จะเปลี่ยนสัญญาณนั้นให้ปรากฏเป็นภาพหรือข้อความตรงตามต้นฉบับ

  33. โทรภาพสาร (Teletext) • โทรภาพสารหรือเทเลเท็กซ์เป็นระบบรับ-ส่งสารสนเทศผ่านคลื่นวิทยุโทรทัศน์ ส่งออกอากาศ • สารสนเทศจะถูกส่งออกอากาศเป็นหน้าๆ เหมือนหน้าหนังสือทั่วไป • ผู้ชมสามารถใช้การควบคุมระยะไกล(Remote Control) เรียกสารสนเทศนั้นออกมาดูได้ตามต้องการและยังสามารถรับชมรายการโทรทัศน์ได้ตามปกติ • ผู้ที่มีเครื่องรับธรรมดาจะรับสารสนเทศทางเทเลเท็กซ์ได้ด้วยการติดตั้งแผ่นวงจรพิเศษกับเครื่องรับโทรทัศน์

  34. ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic mail: E-mail) • สารจะถูกแปลงเป็นสัญญาณไฟฟ้าแล้วจึงถูกส่งออกไปผ่านระบบโทรคมนาคม • ข้อมูลนำเข้าและข้อมูลผลลัพธ์จากระบบไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ อาจปรากฏในรูปของ Video Terminal, Word Processor, โทรสาร, Data Terminal Computer Vision และระบบการสื่อสารด้วยเสียง

  35. การประชุมทางไกล (Teleconference) • รูปแบบการสื่อสารหรือการประชุมระหว่างคนหลายๆ คน โดยไม่ต้องอยู่ต่อหน้ากัน และใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าเป็นกลไกสำคัญในการสื่อสาร การประชุมทางไกลมี 3 วิธีการ คือ • การประชุมทางไกลด้วยเสียง • การประชุมทางไกลด้วยเสียงและภาพ • การประชุมทางไกลด้วยคอมพิวเตอร์ จะใช้คอมพิวเตอร์ส่งสาระของการประชุมระหว่างกัน ผ่านระบบออนไลน์

  36. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับหน่วยงานราชการต่างๆการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับหน่วยงานราชการต่างๆ • สำนักบริการเทคโนโลยีสารสนเทศภาครัฐ (Government Information Technology Services - GITS) • สำนักงานอัตโนมัติ (Office Automation - OA) • อินเทอร์เน็ตตำบล • การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศด้านสรรพกร

  37. สำนักบริการเทคโนโลยีสารสนเทศภาครัฐ (Government Information Technology Services - GITS) • การให้บริการเครือข่ายสารสนเทศภาครัฐ (Government Information Network) เพื่อตอบสนองการบริหารงานสำหรับหน่วยงานของภาครัฐได้อย่างปลอดภัยและมีประสิทธิภาพสูง • ส่งเสริมหน่วยงานภาครัฐให้มีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการดำเนินงานอันนำไปสู่การเป็น E-government • เป็นศูนย์กลางส่งเสริมให้เกิดระบบการเชื่อมโยงข่าวสารระหว่างภาครัฐและประชาชน

  38. สำนักงานอัตโนมัติ (Office Automation - OA) • สำนักงานอัตโนมัติที่หน่วยงานของรัฐจัดทำขึ้นมีชื่อว่า IT Model Office เป็นโครงการนำร่องที่จัดทำขึ้นเพื่อพัฒนาระบบเครือข่ายพื้นฐานของภาครัฐ ในรูปของสำนักงานอัตโนมัติ ระบบงานที่สำคัญมีดังนี้คือ • ระบบนำเสนอข้อมูลข่าวสารสำหรับผู้บริหาร • ระบบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แบบปลอดภัย ได้มีการนำเทคโนโลยีลายเซ็นต์ดิจิทัล (Digital signature)

  39. อินเทอร์เน็ตตำบล • อินเทอร์เน็ตตำบล เป็นการวางระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตให้ตำบลต่างๆ ทั่วประเทศสามารถเข้าใช้อินเทอร์เน็ตได้อย่างมีประสิทธิภาพอันจะเป็นประโยชน์อย่างมากในด้านต่างๆ

  40. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศด้านสรรพกรการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศด้านสรรพกร • บริการเสียภาษีออนไลน์ ได้แก่ บริการโปรแกรมประการยื่นแบบผ่านอินเทอร์เน็ต บริการแบบพิมพ์ • เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารที่มีประโยชน์ด้านการพาณิชย์

  41. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับความมั่นคงของชาติและทางทหารการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับความมั่นคงของชาติและทางทหาร • ด้านกฎหมายและการปกครอง • ด้านรัฐสภา • ด้านการทหารและกองบัญชาการทหารสูงสุด • ด้านอาวุธ และอุปกรณ์การรักษาความมั่นคงของประเทศ

  42. ด้านกฎหมายและการปกครองด้านกฎหมายและการปกครอง • ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสรุปคดีทุกคดีว่าใครฟ้องใคร เรื่องอะไร ศาลชั้นต้นศาลอุทธรณ์ ศาลฎีกา ตัดสินว่าอย่างไร เข้าคอมพิวเตอร์ทั้งหมด • การวิเคราะห์เปรียบเทียบความเหมือน/แตกต่างของรัฐธรรมนูญแต่ละฉบับ

  43. ด้านรัฐสภา • รัฐสภาได้มีการปรับปรุงระบบงานใหม่ พร้อมดึงเอาคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในกิจการงานสภา ศึกษาวิเคราะห์ระบบงานรัฐสภาทั้งหมดและจัดตั้งศูนย์คอมพิวเตอร์ ขึ้นมากำกับดูแลงานด้านคอมพิวเตอร์ พร้อมพัฒนาฐานข้อมูลรัฐสภาขึ้นระหว่างปีพ.ศ. 2535-2540

  44. ด้านการทหารและกองบัญชาการทหารสูงสุด • การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ในด้านการทหารแบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ • ด้านการสื่อสาร มีการนำดาวเทียมทหารมาใช้เพื่อกิจการด้านความมั่นคงทางทหาร • ด้านภูมิศาสตร์ โดยการถ่ายภาพจำลองลักษณะภูมิศาสตร์ในภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศ เพื่อความสะดวก ในการจัดทำยุทธภูมิและการวางแผนป้องกันประเทศ

  45. ด้านอาวุธ และอุปกรณ์การรักษาความมั่นคงของประเทศ • การประดิษฐ์อาวุธที่ทันสมัย ได้แก่ เครื่องคอมพิวเตอร์ในการคำนวณระยะทางและวิถีการตกของระเบิดได้อย่างถูกต้องและแม่นยำ เครื่องตรวจจับอาวุธสงคราม รวมถึงเครื่องบินที่รุกล้ำเข้ามาใน เขตน่านฟ้าของประเทศไทย • มีการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดเก็บข้อมูลด้านความปลอดภัยเกี่ยวกับข้อมูลผู้ไม่ประสงค์ดีต่อประเทศไทย มาสร้างเป็น แบบจำลองการป้องกันประเทศ

  46. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับการบันเทิงการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับการบันเทิง • อีซีนีม่า (E-cinema) ได้แก่ การเปิดให้จองตั๋วและเลือกที่นั่งทางเว็บไซต์ ลูกค้าสามารถจ่ายเงินในเว็บได้เลยโดยผ่านบัตรเครดิต • ธุรกิจด้านอีซีนีม่านี้นับได้ว่ามีประโยชน์มหาศาล เพราะทางเจ้าของกิจการได้มีการบอกข่าวสารบางอย่างที่ลูกค้าไม่รู้ทุกอย่างรวมอยู่ในเว็บ ซึ่งมีความสำคัญอย่างมากในเชิงธุรกิจ ทั้งได้รับการตอบรับสูงจากลูกค้า ของการเปิดจองทั้งระบบ ซึ่งปัจจุบันบริการทั้งระบบโทรศัพท์และระบบออนไลน์

More Related