100 likes | 286 Views
เอกสารหมายเลข 1. การประเมินด้วยเครื่องมือการวิเคราะห์ ระดับความสำเร็จของการดำเนินงาน จากการใช้จ่ายงบประมาณ ( P erformance A ssessment R ating T ool ) 7 กุมภาพันธ์ 2554 ณ ห้องประชุมสภามหาวิทยาลัย. อาจารย์ ดร. วิวรรธน์ มุขดี รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์. ความเป็นมา.
E N D
เอกสารหมายเลข 1 การประเมินด้วยเครื่องมือการวิเคราะห์ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานจากการใช้จ่ายงบประมาณ(Performance Assessment Rating Tool ) 7 กุมภาพันธ์ 2554 ณ ห้องประชุมสภามหาวิทยาลัย อาจารย์ ดร. วิวรรธน์ มุขดี รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์
ความเป็นมา • สำนักงบประมาณได้พัฒนาเครื่องมือ PART มาตั้งแต่ พ.ศ. 2547 โดยได้นำมาจากประเทศ สหรัฐอเมริกา • พ.ศ. 2548 -2549 สำนักงบประมาณนำเครื่องมือ PART ไปใช้กับหน่วยงานนำร่อง 40 หน่วยงาน • 4 ธันวาคม พ.ศ. 2550 คณะรัฐมนตรีได้มีมติ ให้หน่วยงานราชการและรัฐวิสาหกิจที่ได้รับงบประมาณ ดำเนินการประเมินตนเอง ด้วยเครื่องมือ PART ส่งให้สำนักงบประมาณ เพื่อรวบรวมรายงานต่อคณะรัฐมนตรี และให้สำนักงบประมาณนำผลมาประกอบการพิจารณาจัดสรรงบประมาณประจำปีตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 เป็นต้นไป
PART คืออะไร • เป็นเครื่องมือวิเคราะห์ระดับความสำเร็จตามระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ Strategic Performance Based Budgeting (SPBB) โดยมุ่งสู่การประเมิน ผลผลิต และผลลัพธ์ ที่เชื่อมโยงไปยังยุทธศาสตร์ชาติ เพื่อเป็นข้อมูลหลักในการกำกับดูแลระบบงบประมาณ ผลงาน = ผลผลิต + ผลลัพธ์ เชื่อมโยงไปสู่ ยุทธศาสตร์ชาติ
PART คืออะไร • Performance = ความสำเร็จของการดำเนินงานของผลผลิต(จากการใช้จ่ายงบประมาณ) • Assessment = ประเมิน ( ก่อน ให้งบประมาณโดยดูความพร้อมเกี่ยวกับการออกแบบทิศทางและกลยุทธ์เพื่ออนาคต แผนปฏิบัติการและต้นทุนที่ของบประมาณ กิจกรรมสนับสนุนในปัจจุบัน และผลการดำเนินงานที่ผ่านมา) • Rating = การจัดระดับหรืออันดับ • Tool = เครื่องมือ ( หรือวิธีการ หรือเทคนิค) ไม่ใช่ระบบ ที่มา : สำนักงบประมาณและสถาบันพัฒนานโยบายและการจัดการ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ
การเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์และผลผลิตการเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์และผลผลิต รัฐธรรมนูญ คำแถลงนโยบายของรัฐบาล แผนยุทธศาสตร์ของหน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญ --------------------- แผนกลยุทธ์ของหน่วยงานย่อย แผนยุทธศาสตร์ของหน่วยงานฝ่ายนิติบัญญัติ ------------------- แผนกลยุทธ์ของหน่วยงานย่อย แผนบริหารราชการแผ่นดิน แผนยุทธศาสตร์ กลุ่มจังหวัด-จังหวัด แผนยุทธศาสตร์ของกระทรวง กลยุทธ์ของแต่ละยุทธศาสตร์ของจังหวัด ผลผลิต-ผลลัพธ์ ผลผลิต-ผลลัพธ์ ผลผลิต-ผลลัพธ์ ผลผลิต-ผลลัพธ์ กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม ที่มา : สำนักงบประมาณและสถาบันพัฒนานโยบายและการจัดการ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ
ชุดคำถามในเครื่องมือ PART • หมวด ก. จุดมุ่งหมายและรูปแบบ ก1-ก6 ( 6 ข้อ 10 คะแนน ) • หมวด ข. การวางแผนกลยุทธ์ ข1-ข7 ( 7 ข้อ 20 คะแนน ) • หมวด ค. เชื่อมโยงงบประมาณ ค1-ค5 ( 5 ข้อ 20 คะแนน ) • หมวด ง. การบริหารจัดการ ง1-ง7 ( 7 ข้อ 20 คะแนน ) • หมวด จ . การประเมินผลในระดับผลผลิต/ผลลัพธ์ จ1-จ5 ( 5 ข้อ 30 คะแนน )
สภาพแวดล้อมภายนอก สังคมวัฒนธรรม – เทคโนโลยี – เศรษฐกิจ - การเมืองและกฎหมาย (ก-3 ก-5 ก-6) การประเมินผลผลิตและ ผลลัพธ์ (ข-4 ข-5 ข-6 ข-7) ยุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตร์กระทรวงยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย (ก-1 ก-2 ก-4) แผนกลยุทธ์ของหน่วยงาน วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ ผลลัพธ์ (ข-1 ข-2 ข-3) (จ-1 จ-3 จ-5) (จ-2 จ-4) การเชื่อมโยงงบประมาณ แผนปฏิบัติการของหน่วยงาน - ผลผลิต - กิจกรรมหลัก – งบประมาณ (ค-1 ค-2 ค-3 ค-4 ค-5) การบริหารจัดการ แผนปฏิบัติการ (ง-1) ระบบข้อมูลพื้นฐาน (ง-2) ใช้ข้อมูลปรับปรุงงาน (ง-3) ใช้ต้นทุนต่อหน่วย (ง-4) กระบวนการวัดผล (ง-5) ตรวจสอบภายใน (ง-6) ประเมินบุคคล (ง-7) ที่มา : สำนักงบประมาณและสถาบันพัฒนานโยบายและการจัดการ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ
ใครเป็นผู้ตอบคำถาม PART หมวด ก.ผู้ตอบคือ ผู้บริหารระดับสูงของหน่วยงาน (อธิการบดี รองอธิการบดี คณบดี ผู้อำนวยการ) หมวด ข. ผู้ตอบคือ ผู้บริหารระดับสูงที่รับผิดชอบด้านยุทธศาสตร์และด้านประเมินผล (รองอธิการบดีฝ่ายแผน รองคณบดี/ รองผู้อำนวยการฝ่ายแผน) หมวด ค. ผู้ตอบคือ ผู้บริหารที่รับผิดชอบด้านการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ (ผู้อำนวยการกอง รองคณบดี/ รองผู้อำนวยการที่รับผิดชอบแผนปฏิบัติการ) หมวด ง. ผู้ตอบคือ หน่วยปฏิบัตินำส่งผลผลิต (ผู้อำนวยการกอง หัวหน้าภาควิชา หลักสูตร และผู้รับผิดชอบผลผลิต) หมวด จ. ผู้ตอบคือ ผู้บริหารระดับสูงที่รับผิดชอบด้านยุทธศาสตร์และด้านการประเมินผล ( อธิการบดี รองอธิการบดี คณบดี ผู้อำนวยการ รองคณบดี รองผู้อำนวยการ คณะกรรมการประเมินภายในระดับคณะและมหาวิทยาลัย)
ผลการดำเนินงานในปีงบประมาณที่ผ่านมาผลการดำเนินงานในปีงบประมาณที่ผ่านมา รศ.ดร.วัฒนา วงศ์เกียรติรัตน์ ที่ปรึกษาสำนักงบประมาณได้จัดกลุ่มคะแนน PART ของมหาวิทยาลัย (เฉพาะที่ตรวจแล้ว)ไว้ดังนี้ • มหาวิทยาลัยที่ได้คะแนน เกือบทุกข้อ มีจำนวน 5 แห่ง • มหาวิทยาลัยที่ไม่ได้คะแนน ทุกข้อ มีจำนวน 5 แห่ง • มหาวิทยาลัยที่ ไม่ได้คะแนน เกือบทุกข้อ มีจำนวน 22 แห่ง • มหาวิทยาลัยที่มีปัญหาที่หมวด ข,จ มีจำนวน 3 แห่ง • มหาวิทยาลัยที่มีปัญหาที่หมวด ข,ง มีจำนวน 3 แห่ง • มหาวิทยาลัยที่มีปัญหาที่หมวด ง มีจำนวน 1 แห่ง • มหาวิทยาลัยที่มีปัญหาที่หมวด ง และจ มีจำนวน 10 แห่ง(มรภ.อุตรดิตถ์อยู่กลุ่มนี้) • มหาวิทยาลัยที่มีปัญหาที่หมวด จ มีจำนวน 2 แห่ง
การประเมินด้วยเครื่องมือการวิเคราะห์ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานจากการใช้จ่ายงบประมาณ(Performance Assessment Rating Tool ) อาจารย์ ดร. วิวรรธน์ มุขดี รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์