670 likes | 1.01k Views
การประชุมชี้แจง การปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 21 มกราคม 2554 โดย ศาสตราจารย์คลินิกเกียรติคุณวราวุธ สุมาวงศ์. ทำไม ?. เพื่อสถาบันอุดมศึกษา. จัดทำหลักสูตรอย่างเป็นระบบ จัดการเรียนการสอน การประเมินผลอย่างเป็นระบบ ปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง
E N D
การประชุมชี้แจง การปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 21 มกราคม 2554 โดย ศาสตราจารย์คลินิกเกียรติคุณวราวุธ สุมาวงศ์
ทำไม ? เพื่อสถาบันอุดมศึกษา • จัดทำหลักสูตรอย่างเป็นระบบ • จัดการเรียนการสอน การประเมินผลอย่างเป็นระบบ • ปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง • ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (มคอ.) วราวุธ สุมาวงศ์
เป็นภารกิจของทุกคณะ ที่จะต้องเขียนทุกหลักสูตรที่มีอยู่ทั้งหมด ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (Thai Qualification Framework หรือ TQF) เพื่อใช้ในปีการศึกษา 2555 16 เดือนจากนี้ไป วราวุธ สุมาวงศ์
การทำความเข้าใจ การปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ตามประกาศคณะกรรมการอุดมศึกษา เรื่อง แนวทางการปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 16 กรกฎาคม 2552 เป้าหมาย แผนการดำเนินการของทุกหลักสูตร ปีการศึกษา 2555 วราวุธ สุมาวงศ์
การนำมาตรฐานคุณวุฒิสู่การปฏิบัติการนำมาตรฐานคุณวุฒิสู่การปฏิบัติ • ความพร้อม และศักยภาพในการบริหารจัดการศึกษา ตามที่กำหนด • แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร • พัฒนาหลักสูตร มาตรฐานผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ตามสาขาวิชากำหนด (มคอ.1) และที่สถาบันเพิ่มเติมขึ้นมาตามปรัชญาและปณิธานทางสถาบัน • เขียน (มคอ.2) วราวุธ สุมาวงศ์
การนำมาตรฐานคุณวุฒิสู่การปฏิบัติ (ต่อ) • จัดทำรายละเอียดของรายวิชา และของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.3 และ มคอ.4) 5. นำเสนอสภามหาวิทยาลัยอนุมัติ ก่อนเปิดสอน 6. สถาบันเสนอรายละเอียดของหลักสูตรให้ สกอ. รับทราบ ภายใน 30 วัน หลังสภามหาวิทยาลัยอนุมัติแล้ว 7. เมื่อสภาอนุมัติแล้ว มอบหมายให้อาจารย์ผู้สอนดำเนินการ ให้บรรลุมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง (ปีการศึกษา 2555) วราวุธ สุมาวงศ์
การนำมาตรฐานคุณวุฒิสู่การปฏิบัติ (ต่อ) • เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอน ประเมินผลการเรียนรู้แต่ละรายวิชา (Course report) และประสบการณ์ภาคสนามในแต่ละภาคการศึกษา (Field experience report) ให้อาจารย์ผู้สอน จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา พร้อมปัญหา และข้อเสนอแนะ และอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตในภาพรวมประจำปีการศึกษา เมื่อสิ้นปีการศึกษา (Program report) • ครบรอบหลักสูตร จัดทำรายงานผลดำเนินการของหลักสูตร (Program report) (ข้อ8 และ 9 จะทำความเข้าใจต่อไปภายหลัง) วราวุธ สุมาวงศ์
คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา ระดับที่ 1 อนุปริญญา (3ปี) ระดับที่ 2 ปริญญาตรี ระดับที่ 3 ประกาศนียบัตรบัณฑิต ระดับที่ 4 ปริญญาโท ระดับที่ 5 ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ระดับที่ 6 ปริญญาเอก มาตรฐานผลการเรียนรู้ คุณลักษณะที่พึงประสงค์แต่ละระดับคุณวุฒิ วราวุธ สุมาวงศ์
มคอ. 1มาตรฐานคุณวุฒิระดับ....สาขา/สาขาวิชา.... สกอ. ให้ผู้เชี่ยวชาญกำหนดคุณลักษณะของบัณฑิต และระดับคุณวุฒินั้น ๆ มีผลการเรียนรู้ไม่น้อยกว่าที่กำหนด โดยสถาบันต่างๆ มีโอกาสบรรจุเนื้อหาวิชา นอกเหนือจากที่กำหนดไว้ได้ ตามความต้องการหรือเอกลักษณ์ของแต่ละสถาบัน โดย สกอ. มีมติเห็นชอบ และ ร.ม.ต. ศึกษาธิการลงนามประกาศใช้ ให้สถาบันอุดมศึกษาใช้เป็นแนวทางพัฒนาหลักสูตรใหม่หรือหลักสูตรปรับปรุงตามแบบ มคอ.2 รายละเอียดของหลักสูตร วราวุธ สุมาวงศ์
ดังนั้น หลักสูตรต้องสอดคล้องกับ • มคอ.1 • เกณฑ์องค์กรวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง - รับรองมาตรฐานหลักสูตร - การขึ้นทะเบียน - การออกแบบใบอนุญาตการประกอบวิชาชีพ • มหาวิทยาลัยนั้น ๆ กำหนดเพิ่มเติม คุณลักษณะเด่น ตามปรัชญา / ปณิธาน วราวุธ สุมาวงศ์
การจัดทำรายละเอียดของหลักสูตรการจัดทำรายละเอียดของหลักสูตร • กรณีกระทรวงศึกษาธิการประกาศมาตรฐานคุณวุฒิของระดับคุณวุฒิของสาขาวิชา (มคอ.1) นั้นแล้ว 1.1 พิจารณาความพร้อม และศักยภาพ 1.2 แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรอย่างน้อย 5 คน อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อย 2 คน ผู้ทรงคุณวุฒิเชี่ยวชาญในสาขาอย่างน้อย 2 คน ผู้แทนองค์กรวิชาชีพอย่างน้อย 1 คน 1.3 สถาบันอาจเพิ่มเติมคุณลักษณะเด่นตามปรัชญา / ปณิธาน วราวุธ สุมาวงศ์
การจัดทำรายละเอียดของหลักสูตร (ต่อ) • กรณียังไม่มีประกาศ มคอ.1 2.1 พิจารณาความพร้อม และศักยภาพ 2.2 แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร (เหมือน 1.2) 2.3 เหมือน 1.3 วราวุธ สุมาวงศ์
มคอ. 2รายละเอียดของหลักสูตร (Program Specification) เขียนหลักสูตรตาม 8 หมวด หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป หมวดที่ 2 ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร (ปรัชญา วัตถุประสงค์ และแผนพัฒนาปรับปรุง) หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศึกษา การดำเนินงาน และ โครงสร้างของหลักสูตร หมวดที่ 4 ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอน และประเมินผล หมวดที่ 5 หลักเกณฑ์ในการประเมินผลนักศึกษา วราวุธ สุมาวงศ์
มคอ. 2รายละเอียดของหลักสูตร (Program Specification) (ต่อ) หมวดที่ 6 การพัฒนาอาจารย์ หมวดที่ 7 การประกันคุณภาพหลักสูตร หมวดที่ 8 การประเมิน และการปรับปรุงหลักสูตร การเขียนขอให้ใช้หัวข้อตามศกอ.กำหนด แต่ละหลักสูตรอาจารย์ทำร่วมกัน เน้น Learning Outcome ผลการเรียนรู้ของบัณฑิต วราวุธ สุมาวงศ์
หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป • ข้อ 9 ชื่อ เลขประจำตัวบัตรประชาชน ตำแหน่ง และคุณวุฒิการศึกษาของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร • ในหลักสูตรฉบับใช้ทั่วไปไม่ต้องระบุเลขประจำตัวบัตรประชาชนใช้ xxxxxxxx หลักสูตร(มคอ.2) ฉบับที่ส่งสกอ.รับทราบเท่านั้นที่ต้องระบุเลขประจำตัวบัตรประชาชนของอาจารย์ทุกคนให้ครบ วราวุธ สุมาวงศ์
หมวดที่ 2 ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร • ข้อ 1 ปรัชญา ความสำคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร ข้อเสนอแนะ ควรแยกเป็น 1.1 ความสำคัญ อาจรวมหลักการและเหตุผล 1.2 ปรัชญา 1.3 วัตถุประสงค์ของหลักสูตร วราวุธ สุมาวงศ์
ปรัชญา เป้าหมายการผลิตบัณฑิตให้มีคุณลักษณะ และความรู้ความสามารถที่ต้องการ วัตถุประสงค์ เขียนตามหลักวิทยาศาสตร์การศึกษา ครอบคลุมทั้ง หมวดความรู้ หมวดเจตคติ หมวดทักษะ วราวุธ สุมาวงศ์
หมวดที่ 2 ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร (ต่อ) • ข้อ 2 แผนพัฒนาปรับปรุง 2.1 แผนการพัฒนา / เปลี่ยนแปลง 2.2 กลยุทธ์ 2.3 หลักฐาน / ตัวบ่งชี้ วราวุธ สุมาวงศ์
หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศึกษา การดำเนินงาน และโครงสร้างของหลักสูตร • ข้อ 3.1 หลักสูตร 3.1.1 จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 3.1.2 โครงสร้างหลักสูตร 3.1.3 รายวิชา (ระบุรหัสวิชา ทั้งภาษาไทย ภาษาอังกฤษ จำนวนหน่วยกิต จำนวนชั่วโมงบรรยาย จำนวนชั่วโมงปฏิบัติ จำนวนชั่วโมงที่ศึกษา ด้วยตนเอง) รหัสวิชา ชื่อภาษาไทย 3(2-2-5) ระดับปริญญาตรี ชื่อภาษาอังกฤษ วราวุธ สุมาวงศ์
หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศึกษา การดำเนินงาน และโครงสร้างของหลักสูตร (ต่อ) • ข้อ 3.1 หลักสูตร (ต่อ) 3.1.4 แสดงแผนการศึกษา (แต่ละชั้นปีและภาคการศึกษา) 3.1.5 คำอธิบายรายวิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษ วราวุธ สุมาวงศ์
การคิดจำนวนหน่วยกิตแบบทวิภาคการคิดจำนวนหน่วยกิตแบบทวิภาค 1 หน่วยกิตทฤษฎี บรรยายหรืออภิปราย หรือสัมมนา 1 ชั่วโมง / สัปดาห์ / ภาคการศึกษา จำนวน 15 – 18 ต่อภาค 1 หน่วยกิตปฏิบัติ ฝึกหรือทดลอง 2 - 3 ชั่วโมง / สัปดาห์ / ภาคการศึกษา จำนวน 30 – 36 ชั่วโมงต่อภาค การศึกษาอิสระ เวลาที่ใช้ค้นคว้า ไม่น้อยและไม่มากกว่า 45 ชั่วโมงต่อภาค หรือ 3 ชั่วโมง / สัปดาห์ / ภาคการศึกษา วิทยานิพนธ์ เหมือนการศึกษาอิสระ วราวุธ สุมาวงศ์
การค้นคว้าศึกษาด้วยตนเองการค้นคว้าศึกษาด้วยตนเอง โดยทั่วไปถือว่าระดับปริญญาตรี การบรรยาย 1 ชั่วโมง นักศึกษาจะต้องใช้เวลาเรียนรู้ด้วยตนเอง 2 ชั่วโมง เท่ากับใช้เวลาทั้งสิ้น 3 ชั่วโมง การปฏิบัติ 2 ชั่วโมง นักศึกษาจะต้องใช้เวลาเรียนรู้ด้วยตนเอง 1 ชั่วโมง เท่ากับใช้เวลาทั้งสิ้น 3 ชั่วโมง เช่นกัน ระดับปริญญาโท-เอก ต้องใช้เวลาศึกษาค้นคว้ามาก่อนเข้าเรียนและหลัง เรียน ซึ่งต้องเวลาในการศึกษาทั้งภาคทฤษฎีและ ปฏิบัติมากกว่า 3 ชั่วโมง จึงคิดเพิ่มเป็น 4 ชั่วโมง วราวุธ สุมาวงศ์
หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศึกษา การดำเนินงาน และโครงสร้างของหลักสูตร (ต่อ) • ข้อ 3.2ชื่อ สกุล เลขประจำตัวบัตรประชาชน ตำแหน่ง และ คุณวุฒิอาจารย์ 3.2.1 อาจารย์ประจำหลักสูตร (คุณวุฒิตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชา) 3.2.2 อาจารย์ประจำ (ปฏิบัติหน้าที่เต็มเวลา) 3.2.3 อาจารย์พิเศษ วราวุธ สุมาวงศ์
การเขียน มคอ.2 จะมีส่วนของ มคอ.3 เข้ามาเกี่ยวข้องด้วย นั่นคือ คำอธิบายรายวิชา ซึ่งเป็นการรวมหัวเรื่องที่กำหนดให้นักศึกษาเรียนรู้ทั้งหมด ปัญหา เขียนคำอธิบายรายวิชาก่อน แล้วทำ มคอ.3 ภายหลัง คำอธิบายรายวิชาจึงไม่สมบูรณ์ วราวุธ สุมาวงศ์
คำอธิบายรายวิชาภาษาไทยคำอธิบายรายวิชาภาษาไทย • ระบุหัวข้อเรื่องการเรียนรู้ที่กำหนดไว้ขั้นต่ำ จึงประกอบด้วย 1. หัวข้อเรื่องที่กำหนดให้นักศึกษาเรียนรู้ทุกหมวดการศึกษา ทั้งที่มีการจัดการเรียนการสอนให้ และที่กำหนดให้เรียนรู้เอง 2. รวมหัวข้อเรื่องเหล่านั้นเขียนเรียงกันไป จึงเป็นวลีของหัวข้อเรื่องทั้งหมดที่นำมาเรียงต่อๆกัน 3. จะไม่ระบุวิธีการจัดการศึกษา วิธีประเมินผล การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วราวุธ สุมาวงศ์
หลักการเขียนคำอธิบายรายวิชาภาษาอังกฤษหลักการเขียนคำอธิบายรายวิชาภาษาอังกฤษ • แปลให้สอดคล้องตรงกันกับคำอธิบายรายวิชาภาษาไทยทุกอย่าง • วลีแรก นำด้วย Capital letter • เมื่อจบวลีใช้เครื่องหมาย Semicolon ( ; ) • เริ่มต้นวลีต่อไปด้วยอักษรตามทั้งหมด ยกเว้นศัพท์เฉพาะที่ต้องเขียน Capital letter • ในแต่ละวลีหรือหัวข้อเรื่อง ถ้าเกี่ยวข้องกัน ให้คั่นด้วยสัญลักษณ์ Comma ( , ) • จบคำอธิบายรายวิชาเมื่อสิ้นสุดวลีสุดท้าย ไม่ต้องใส่สัญลักษณ์ Fullstop ( . ) วราวุธ สุมาวงศ์
หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศึกษา การดำเนินงาน และโครงสร้างของหลักสูตร (ต่อ) • ข้อ 4 องค์ประกอบเกี่ยวกับประสบการณ์ภาคสนาม สรุปการฝึกงาน ฝึกปฏิบัติทางคลินิก หรือสหกิจศึกษา ตามที่กำหนดไว้ในหลักสูตร 4.1 มาตรฐานการเรียนรู้ 4.2 ช่วงเวลา 4.3 การจัดเวลาและตารางสอน • ข้อ 5 ข้อกำหนดเกี่ยวกับการทำโครงงานหรืองานวิจัย 5.1 คำอธิบาย 5.2 มาตรฐานผลการเรียนรู้ 5.3 ช่วงเวลา 5.4 การเตรียมการแนะนำช่วยเหลือ 5.5 กระบวนการประเมินผล วราวุธ สุมาวงศ์
หมวดที่ 4 ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอน และประเมินผล ข้อ 1 การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนักศึกษา (ให้ระบุ) ข้อ 2 การพัฒนาผลการเรียนรู้ในแต่ละด้าน 2.1 พัฒนาอะไร ให้สัมพันธ์แต่ละมาตรฐานระดับคุณวุฒิ 2.2 กลยุทธ์การสอนในรายวิชาต่างๆให้บรรลุผลการเรียนรู้ 2.3 วิธีการวัดและประเมินผล ข้อ 3 แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการ เรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum mapping) วราวุธ สุมาวงศ์
หมวดที่ 4 ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอน และประเมินผล (ต่อ) มาตรฐานผลการเรียนรู้ • ด้านคุณธรรม จริยธรรม (7 ข้อ) • ด้านความรู้ (6 ข้อ) • ด้านทักษะทางปัญญา (4 ข้อ) • ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ (6 ข้อ) • ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (4 ข้อ) • ด้านทักษะทางวิชาชีพ วราวุธ สุมาวงศ์
หมวดที่ 4 ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอน และประเมินผล (ต่อ) โปรดศึกษา และเขียนให้สัมพันธ์กับมาตรฐานการเรียนรู้ของแต่ละระดับคุณวุฒิ มาตรฐานที่ 1 2 3 และ 6 เกี่ยวข้องโดยตรงกับสาขาวิชาที่จัดสอน มาตรฐานที่ 4 และ 5 สกอ. มุ่งหวังให้นักศึกษาทุกคนบรรลุมาตรฐาน มาตรฐานที่ 5 นักศึกษาทุกคนตื่นตัวอยู่แล้วเป็นส่วนใหญ่ทางเทคโนโลยี แต่ด้านการสื่อสารต้องหาทางหล่อหลอม มาตรฐานที่ 4 สิ่งที่ท้าทายม.อุบลฯ ที่เขียนเอาไว้จะหล่อหลอมอย่างไร? วราวุธ สุมาวงศ์
หมวดที่ 5 หลักเกณฑ์ในการประเมินผลนักศึกษา • กฎระเบียบหรือหลักเกณฑ์ในการให้เกรด • กระบวนการทดสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา • เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร วราวุธ สุมาวงศ์
หมวดที่ 5 หลักเกณฑ์ในการประเมินผลนักศึกษา (ต่อ) การทวนสอบ การดำเนินการหาหลักฐานด้วยวิธีการต่างๆ เช่น การสังเกต การตรวจสอบ การประเมิน การสัมภาษณ์ ว่าได้มีการดำเนินการบรรลุเป้าหมาย จัดเป็นส่วนหนึ่งของความรับผิดชอบในระบบการประกัน คุณภาพภายในของสถาบันอุดมศึกษาทุกแห่ง วราวุธ สุมาวงศ์
หมวดที่ 5 หลักเกณฑ์ในการประเมินผลนักศึกษา (ต่อ) กลยุทธ์ การตรวจสอบการให้คะแนนจากกระดาษคำตอบว่าให้คะแนน ตรงตามความเป็นจริง งานที่รับมอบหมาย การประเมินหลักสูตร ภาควิชา ผู้ใช้บัณฑิต สถาบันอื่น วิธีทวนสอบร่วมกัน เช่น การสอบออก โดยใช้ข้อสอบซึ่ง คณาจารย์สถาบันต่างๆในสาขาวิชาร่วมกันจัดทำ วราวุธ สุมาวงศ์
หมวดที่ 6 การพัฒนาอาจารย์ ข้อ 1 การเตรียมการสำหรับอาจารย์ใหม่ แผนและการดำเนินการเป็นรูปธรรม ข้อ 2 การพัฒนาความรู้และทักษะให้แก่อาจารย์ 2.1 การพัฒนาการจัดการเรียนการสอน การวัดและการ ประเมินผล 2.2 การพัฒนาวิชาการและวิชาชีพด้านอื่นๆ วราวุธ สุมาวงศ์
หมวดที่ 7 การประกันคุณภาพหลักสูตร ข้อ 1 การบริหารหลักสูตร ระบบ กลไก ข้อ 2 การบริหารทรัพยากรการเรียนการสอน 2.1 การบริหารงบประมาณ 2.2 ทรัพยากรการเรียนการสอนที่มีอยู่เดิม 2.3 การจัดหาทรัพยากรการเรียนการสอนเพิ่มเติม 2.4 การประเมินความเพียงพอของทรัพยากร วราวุธ สุมาวงศ์
หมวดที่ 7 การประกันคุณภาพหลักสูตร (ต่อ) ข้อ 3 การบริหารคณาจารย์ 3.1 การรับอาจารย์ใหม่ 3.2 การมีส่วนร่วมของคณาจารย์ในการวางแผน การติดตามและ ทบทวนหลักสูตร 3.3 การแต่งตั้งคณาจารย์พิเศษ นโยบาย การอนุมัติ การเลือกสรร และสัดส่วนต่อคณาจารย์ในทั้งหลักสูตร ข้อ 4 การบริหารบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน ข้อ 5 การสนับสนุนและการให้คำแนะนำแก่นักศึกษา 5.1 ด้านวิทยากรและอื่นๆ 5.2 การอุทธรณ์ของนักศึกษา ข้อ 6 ตลาดแรงงาน สังคม ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต วราวุธ สุมาวงศ์
หมวดที่ 7 การประกันคุณภาพหลักสูตร (ต่อ) ข้อ 5 การสนับสนุนและการให้คำแนะนำนักศึกษา 3.1 การให้คำปรึกษาด้านวิชาการ และอื่นๆ แก่นักศึกษา 3.2 การอุทธรณ์ของนักศึกษา มหาวิทยาลัยจัดทำหรือยัง??? กฎระเบียบการอุทธรณ์ของนักศึกษาในเรื่องเกี่ยวกับวิชาการ กระบวนการในการพิจารณาข้ออุทธรณ์ของนักศึกษา วราวุธ สุมาวงศ์
หมวดที่ 8 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของ หลักสูตร ข้อ 1 การประเมินประสิทธิผลของการสอน 1.1 การประเมินกลยุทธ์การสอน • ความเห็น / ข้อเสนอแนะของอาจารย์หลังเข้าอบรมการนำกลยุทธ์ไปใช้ • ความเห็นผู้เชี่ยวชาญด้านหลักสูตร / วิธีการสอน • การประเมินของนักศึกษา ความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนในรายวิชา • การวิจัยในชั้นเรียน วราวุธ สุมาวงศ์
หมวดที่ 8 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของ หลักสูตร (ต่อ) ข้อ 1 การประเมินประสิทธิผลของการสอน (ต่อ) 1.2 การประเมินทักษะของอาจารย์ในการใช้แผนกลยุทธ์การสอน • การประเมินของนักศึกษา • การสังเกตการณ์ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร / หัวหน้าภาควิชา / ทีมผู้สอน • การทดสอบผลการเรียนรู้ของนักศึกษาเทียบกับสถาบันอื่นในหลักสูตรเดียวกัน • การจัดอันดับการพัฒนาความรู้และทักษะที่นักศึกษาต้องการ วราวุธ สุมาวงศ์
หมวดที่ 8 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของ หลักสูตร (ต่อ) ข้อ 2 การประเมินหลักสูตรในภาพรวม 2.1 จากนักศึกษาและบัณฑิต 2.2 จากผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้ประเมินภายนอก 2.3 ผู้ใช้บัณฑิต อาทิ จาการสัมภาษณ์ จากแบบประเมิน ข้อ 3 การประเมินผลการดำเนินงานตามรายละเอียดของหลักสูตร โดยคณะกรรมการประเมินชุดเดียวกับการประเมินคุณภาพภายใน ข้อ 4 การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรุง กระบวนการวางแผนและกลยุทธ์ปรับปรุงหลักสูตร วราวุธ สุมาวงศ์
หมวดที่ 8 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของ หลักสูตร (ต่อ) ข้อ 1 การประเมินประสิทธิผลของการสอน (ของครู) - ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการจัดการเรียนการสอนใน รายวิชา - ผลการเรียนของนักศึกษา - การประเมินจากผู้สังเกตการณ์ หัวหน้าภาควิชา ทีมผู้สอน - การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา วราวุธ สุมาวงศ์
หมวดที่ 8 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของ หลักสูตร (ต่อ) มหาวิทยาลัยอาจกำหนดแบบประเมินแต่ละรูปแบบวิธีการสอน อาทิ แบบประเมินการสอนวิธีบรรยาย แบบประเมินการสอนวิธีบรรยายเชิงอภิปราย แบบประเมินการสอนวิธีระดมสมองและกรณีศึกษา แบบประเมินการสอนวิธีนำเสนอผลการสืบค้นหรือผลงานที่ได้รับมอบหมาย แบบประเมินการสอนวิธีสัมมนา แบบประเมินการสอนวิธีฝึกปฏิบัติ แบบประเมินการสอนวิธีการเรียนรู้แบบร่วมมือ แบบประเมินการสอนให้คิดของ ม.อุบลฯ วราวุธ สุมาวงศ์
การขออนุมัติหลักสูตรต่อสภาสภาบันอุดมศึกษาการขออนุมัติหลักสูตรต่อสภาสภาบันอุดมศึกษา สภามหาวิทยาลัยควรกำหนดระบบและกลไกของการจัดทำและอนุมัติรายละเอียดของหลักสูตร (มคอ.2) รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3) และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนามหรือฝึกงาน (มคอ.4) ให้ชัดเจน วราวุธ สุมาวงศ์
มคอ. 3รายละเอียดของรายวิชา (Course specification) แนวทางการบริหารจัดการของแต่ละรายวิชา (รหัสวิชา) เครื่องมือที่ผู้สอนกำหนด สร้าง และเตรียมการให้เป็นที่เข้าใจการเรียนรู้ โดยเฉพาะแก่ผู้เรียน วราวุธ สุมาวงศ์
การเขียนรายละเอียดของรายวิชาตาม มคอ.3 ประกอบด้วย 7 หมวด หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ หมวดที่ 3 ลักษณะและการดำเนินการ หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนรู้ หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา วราวุธ สุมาวงศ์
หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ 2.1 จุดมุ่งหมายของรายวิชา - วัตถุประสงค์ทั่วไป (ระดับภาควิชา) - วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม 2.2 วัตถุประสงค์ในการพัฒนา / ปรับปรุงรายวิชา - การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ เช่น เนื้อหา เทคโนโลยีสารสนเทศ การเรียนการสอน วราวุธ สุมาวงศ์
หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ (ต่อ) การเขียนวัตถุประสงค์รายวิชา ซึ่งเป็นวัตถุประสงค์ระดับ กลาง อาจไม่เขียนเป็นวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม ไม่จำเป็นต้องครบองค์ประกอบของวัตถุประสงค์ A B ( C D ) C เงื่อนไข D ระดับความสามารถของผู้เรียน วราวุธ สุมาวงศ์
หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ (ต่อ) • ผลการเรียนรู้ • ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาของประเทศไทย • ด้านคุณธรรมและจริยธรรม • การพัฒนานิสัย ความประพฤติส่วนตนและส่วนรวม • สังคม การปรับชีวิตในความขัดแย้ง • ด้านความรู้ • การวิเคราะห์ และการเรียนรู้ด้วยตนเอง วราวุธ สุมาวงศ์
หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ (ต่อ) • ด้านทักษะทางปัญญา • การคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหา • ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ • การทำงานเป็นกลุ่ม ภาวะผู้นำ ผู้ตาม • ความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม การเรียนรู้ของตัวเอง • ด้านการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ • ทางสถิติ การสื่อสารทางการพูด การเขียน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ • ด้านทักษะทางวิชาชีพ วราวุธ สุมาวงศ์
หมวดที่ 3 ลักษณะและการดำเนินการ ข้อ 1 คำอธิบายรายวิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ข้อ 2 จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา (ตามหน่วยกิตของรหัสวิชานี้) ข้อ 3 จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษา แนะนำ ทางวิชาการแก่นักศึกษา เป็นรายบุคคล นอกชั้นเรียน ระบุจำนวนชั่วโมงนอกชั้นเรียน แจ้งให้นักศึกษาทราบกำหนดเวลา และล่วงหน้า วราวุธ สุมาวงศ์