1 / 210

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์. เศรษฐศาสตร์คืออะไร Social Science Behavior Theory Behavior Decision Scaityrc Unlimited wants Theory : Logical, Believable, consistent.

whitley
Download Presentation

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์คืออะไร Social Science Behavior Theory Behavior Decision Scaityrc Unlimited wants Theory : Logical, Believable, consistent

  2. วิธีการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์ มี 2 วิธี 1. วิธีอนุมาน เป็นการสร้างทฤษฎีโดยวิธีอนุมาน ตั้งสมมุติฐาน (Hypothesis) ทดสอบสมมุติฐาน (จากข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น) สรุปออกมาเป็นทฤษฎี สมมติฐานไม่ถูกต้อง (กลับ ไปแก้ไขสมมุติฐานใหม่)

  3. 2.วิธีอุปมาน เป็นการสร้างทฤษฎี โดย รวบรวมข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องกับปัญหา นำมาวิเคราะห์โดยใช้วิธีการทางสถิติเพื่อหาข้อสรุป (ภายใต้ข้อสมมุตให้ปัจจัยอื่นๆ คงที่) ทำการพิสูจน์ข้อสรุปนั้นโดยใช้กระบวนการเหตุและผล

  4. ขอบเขตของวิชาเศรษฐศาสตร์ 1. เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Microeconomics)2.เศรษฐศาสตร์มหภาค (Macroeconomics)

  5. ความสำคัญของวิชาเศรษฐศาสตร์ความสำคัญของวิชาเศรษฐศาสตร์ 1. ความสำคัญในระดับจุลภาค 2. ความสำคัญในระดับมหภาค 3. ความสำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและเสถียรภาพ

  6. ประโยชน์ของวิชาเศรษฐศาสตร์ประโยชน์ของวิชาเศรษฐศาสตร์ • ในฐานะผู้บริหารประเทศ • ในฐานะผู้ประกอบการ • ในฐานะประชาชน

  7. ความสัมพันธ์ระหว่างเศรษฐศาสตร์กับวิชาอื่นๆความสัมพันธ์ระหว่างเศรษฐศาสตร์กับวิชาอื่นๆ เศรษฐศาสตร์กับรัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์กับนิติศาสตร์ 3. เศรษฐศาสตร์กับจริยศาสตร์ 4. เศรษฐศาสตร์กับบริหารธุรกิจ 5. เศรษฐศาสตร์กับวิชาอื่นๆ

  8. ข้อสมมุติฐานในการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์1. มนุษย์จะดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจอย่างมีเหตุผล (Economic Rationality)2. กำหนดให้ปัจจัยอื่นๆ คงที่ (Certeris Paribus)

  9. ชนิดของทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ มี 2 ชนิด 1. เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์ หรือ ทฤษฎีเศรษฐศาตร์ตามที่เป็นจริง (Positive Economics) 2. เศรษฐศาสตร์นโยบาย (Normative Economics) หรือทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ตามที่ควรจะเป็น

  10. ปัญหาพื้นฐานในระบบเศรษฐกิจ (Basic Economics Problems) • ผลิตอะไร (What) • ผลิตอย่างไร(How) • ผลิตเพื่อใคร(For whom)

  11. ระบบเศรษฐกิจแบบต่างๆ กับการแก้ปัญหาพื้นฐาน การจำแนกระบบเศรษฐกิจพิจารณาจากเกณฑ์สำคัญต่อไปนี้ • กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินเป็นของส่วนบุคคลหรือของส่วนรวม • การตัดสินใจในปัญหาพื้นฐานในระบบเศรษฐกิจเป็นของส่วนบุคคลหรือของส่วนรวม • การจัดสรรทรัพยากรและการผลิตผ่านระบบราคาหรือโดยการบังคับ

  12. ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capitalism) • การมีกรรมสิทธ์ในทรัพย์สิน • เสรีภาพในธุรกิจ • กำไรเป็นเครื่องจูงใจ • ระบบราคา

  13. การแก้ไขปัญหาพื้นฐานในระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม • อะไร (What) • อย่างไร (How) • เพื่อใคร (For whom)

  14. ระบบวางแผนจากส่วนกลาง (Centrally Planned Economy) • ลักษณะที่สำคัญ • การตัดสินใจในปัญหาพื้นฐานในระบบเศรษฐกิจ • ลักษณะที่สำคัญ • การตัดสินใจในปัญหาพื้นฐานในระบบเศรษฐกิจ

  15. ระบบเศรษฐกิจแบบผสม (Mixed Economy) • ลักษณะที่สำคัญ • การตัดสินใจในปัญหาพื้นฐานในระบบเศรษฐกิจ

  16. เครื่องมือประกอบการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์เครื่องมือประกอบการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์ 1. ฟังก์ชัน (Function) เช่น X = ƒ(Y) Dependent Variable Independent Variable 2. การแสดงความสัมพันธ์ด้วยกราฟ

  17. เส้นเป็นไปได้ในการผลิต(Production Possibility Curve) คือ เส้นซึ่งแสดงถึงจำนวนต่างๆ ของสินค้า 2 ชนิดที่ประเทศหนึ่งสามารถผลิตได้ด้วยทรัพยากรที่มีอยู่ทั้งหมด ในระยะเวลาหนึ่ง ด้วยเทคนิคที่มีอยู่ในเวลานั้นอย่างมีประสิทธิภาพ

  18. สินค้า Y K G M สินค้า X เส้นเป็นไปได้ในการผลิต Production Possibility Curve : PPC

  19. ปัจจัยการผลิตในทางเศรษฐศาสตร์ปัจจัยการผลิตในทางเศรษฐศาสตร์ 1. ที่ดินและทรัพยากรธรรมชาติ 2. แรงงาน 3. ทุน 4. ผู้ประกอบการ

  20. วงจรกิจกรรมในระบบเศรษฐกิจ(The Circular Flow Model) รายได้ ค่าใช้จ่าย ตลาดสินค้า สินค้าและบริการ สินค้าและบริการ หน่วยธุรกิจ ครัวเรือน ปัจจัยการผลิต ปัจจัยการผลิต ตลาดปัจจัยการผลิต ต้นทุน รายได้

  21. ระบบเศรษฐกิจแบบต่างๆ กับการแก้ไขปัญหาพื้นฐาน(Economic Systems and Solutions) 1. ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capitalism)หรือระบบเศรษฐกิจเสรี หรือระบบตลาด 2. ระบบเศรษฐกิจแบบผสม (Mixed Economy) 3. ระบบเศรษฐกิจแบบวางแผนจากส่วนกลาง(Centrally Planed Economy)

  22. เกณฑ์ในการจำแนกระบบเศรษฐกิจเกณฑ์ในการจำแนกระบบเศรษฐกิจ 1. กรรมสิทธ์ในทรัพย์สินเป็นของส่วนบุคคลหรือของส่วนรวม 2. การตัดสินใจในปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ 3. การจัดสรรทรัพยากรการผลิตผ่านกลไกราคาหรือโดยการบังคับ

  23. หลักเศรษฐศาตร์จุลภาคการกำหนดราคาโดยอุปสงค์และอุปทานหลักเศรษฐศาตร์จุลภาคการกำหนดราคาโดยอุปสงค์และอุปทาน อุปสงค์คืออะไร ปัจจัยที่กำหนดอุปสงค์ Demand Function Qx = ƒ( Px, Py, I, T, Z)

  24. การวิเคราะห์Demand ปกติจะวิเคราะห์ 3 ส่วน 1. อุปสงค์ต่อราคาสินค้านั้น( Price Demand) 2. อุปสงค์ต่อรายได้ (Income Demand) 3. อุปสงค์ต่อราคาสินค้าอื่น (Cross Demand)

  25. 1. อุปสงค์ต่อราคา (Price Demand) Demand Function Qx = ƒ(Px, Py, I, T, Z ) Qx = ƒ(Px) Low of Demand P œ 1/Q P Q P Q

  26. ราคา เส้นอุปสงค์ (Demand) P1 P2 ปริมาณ (Q) Q1 Q2 แสดงลักษณะของอุปสงค์ต่อราคา

  27. 2. อุปสงค์ต่อรายได้ (Income Demand) Demand Function Qx = ƒ(Px, Py, I, T, Z ) Qx = ƒ(I) (ตำราบางเล่มใช้สัญญลักษณ์ Y แทนรายได้) 2.1 กรณีสินค้าปกติ (Normal Goods) 2.2 กรณีสินค้าด้อย (Inferior Goods)

  28. รายได้ Income Demand เส้นแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง รายได้กับปริมาณซื้อในกรณีที่เป็นสินค้าปกติ จะมีลักษณะทอดขึ้นจากซ้ายไปขวาโดยมีค่าความชัน(slope) เป็นบวก ปริมาณ สินค้า ลักษณะของเส้นอุปสงค์ต่อรายได้ กรณีสินค้าปกติ

  29. รายได้ Income Demand ปริมาณซื้อสินค้า ลักษณะของเส้นอุปสงค์ต่อรายได้ กรณีสินค้าด้อย

  30. 3. อุปสงค์ต่อราคาสินค้าอื่น (Cross Demand) Demand Function Qx = ƒ(Px, Py, I, T, Z ) Qx = ƒ(Py) 3.1 สินค้าที่ใช้ประกอบกัน Complementary goods Py Qy Qx Py Qy Qx

  31. ราคากาแฟ อุปสงค์ต่อราคาสินค้าชนิดอื่น กรณีสินค้าที่ใช้ประกอบกัน ปริมาณครีม รูปแสดงอุปสงค์ต่อราคาสินค้าอื่น กรณีสินค้าใช้ประกอบกัน

  32. 3.2 สินค้าที่ใช้ทดแทนกันได้ Substitution Goods Py Qy Qx Py Qy Qx

  33. ราคาสินค้า Y เส้นอุปสงค์ต่อราคาสินค้าอื่น กรณีสินค้าสินค้าที่ทดแทนกันได้ ปริมาณสินค้า X อุปสงค์ต่อราคาสินค้าชนิดอื่น กรณีสินค้าที่ใช้ทดแทนกันได้

  34. Low of Demand P œ 1/Q P Q P Q ราคา Demand ปริมาณ

  35. อุปสงค์ลาดลงจากซ้ายไปขวา เนื่องมาจาก1. ผลจากการทดแทนกันของสินค้า (Substitution effect)2. ผลจากรายได้ (Income effect)Total Effect = Sub. Effect + Income Effect

  36. สมการอุปสงค์ (Demand Equation) 1. แบบเส้นตรง เช่น Qx = 10-2P 2. สมการเส้นโค้ง เช่น Qx = 20-2P2

  37. การเปลี่ยนแปลงปริมาณอุปสงค์(Changes in the Quantity Demandedหรือ Demand move along)Demand ƒn Qx = ƒ(Px, Py, I, T, Z ) การย้ายเส้นอุปสงค์ (Shifts in the Demand Curve) Demand ƒn Qx = ƒ(Px, Py, I, T, Z)

  38. ราคา ราคา P1 Demand P0m P2 D0 D2 D0 D1 Q1 Q0 Q2 ปริมาณ ปริมาณ การ move along บนเส้น Demand การ shift ของเส้น Demand

  39. อุปสงค์บุคคลและอุปสงค์ตลาด(Individual and Market Demand) Individual Demand คือ ปริมาณสินค้าชนิดหนึ่งที่ผู้บริโภคแต่ละคนซื้อ ณ ระดับราคาต่างๆ ในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง Market Demand คือ ผลรวมของปริมาณสินค้าชนิดหนึ่งที่ผู้บริโภคแต่ละคนซื้อ ณ ระดับราคาต่างๆ ในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง (Sum of individual Demand)

  40. อุปทาน (Supply) อุปทาน คืออะไร Supply Function Qxs = ƒ(Px, Py, A,B,C,D,…) โดย Px = ราคาของสินค้า x, Py = ราคาของสินค้า y A = นโยบายหรือจุดมุ่งหมายของธุรกิจ B = เทคโนโลยีการผลิต , C = ราคาปัจจัยการผลิต D = จำนวนของผู้ผลิตและผู้ขายในตลาด

  41. ราคา อุปทาน (supply) ปริมาณ o รูปแสดงลักษณะของเส้นอุปทาน

  42. ราคา อุปทาน (supply) ปริมาณ o รูปแสดงลักษณะของเส้นอุปทาน

  43. Low of Supply Qxs œ P สมการอุปทาน (Supply Equation) มี 2 ชนิด 1. สมการที่เป็นเส้นตรง เช่น Qxs = 5+4P 2. สมการเส้นโค้ง Qxs = 5+4P2

  44. การเปลี่ยนแปลงปริมาณขาย(Changes in the Quantity Supplied) Supply Function Qxs = ƒ(Px, Py, A, B, C, D,…) การย้ายเส้นอุปทาน(Shifts in Supply Curve) Supply Function Qxs = ƒ(Px, Py, A,B,C,D,…)

  45. S2 Supply So ราคา So ราคา S1 P1 Po P2 Q2 Q0 Q1 ปริมาณ ปริมาณ รูปแสดงการเคลื่อนย้ายอยู่บนเส้น Supply หรือ การ move along รูปแสดงการเคลื่อนย้ายของเส้น Supply หรือ การ Shift ของเส้น Supply

  46. การเปลี่ยนแปลงภาวะดุลยภาพ(Change in Equilibrium) ภาวะดุลยภาพจะเปลี่ยนแปลงไปถ้าเกิดการ Shift ของเส้น Demand หรือ เส้น Supply หรือ การ Shift ของทั้งสองเส้น พร้อมกัน

  47. การกำหนดราคาและดุลยภาพของตลาด(Price Determination and Market Equilibrium) Excess Supply Supply P P1 ราคาดุลยภาพและปริมาณดุลยภาพ E P0 P2 Demand Excess Demand Q4 0 Q3 Q0 Q1 Q2 Q

  48. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน และการประยุกต์ทฤษฎีอุปสงค์อุปทาน ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand) คืออะไร ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ นิยมวิเคราะห์ 3 ด้าน คือ 1. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา 2. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสินค้าอื่น 3. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้

  49. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา หมายถึง อัตราส่วนเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้อต่อเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของปริมาณขายหรือ การที่ราคาสินค้าเปลี่ยนแปลงไปแล้วทำให้ปริมาณซื้อสินค้านั้นเปลี่ยนแปลงไปมากน้อยเพียงใด

  50. สูตรการคำนวณค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาแบบจุดDemand ƒnQx = ƒ(Px) โดยกำหนดให้ Py, I, T,Z คงที่ Low of Demand P œ 1/Q (P แปรผกผันกับ Q) Ed = % Q =  Q × P1 % P P Q1 = Q2 - Q1 × P1 P2 - P1 Q1

More Related