360 likes | 483 Views
การค้าและการเงิน ระหว่างประเทศของไทย. เอกสารอ้างอิง พรายพล คุ้มทรัพย์ เศรษฐศาสตร์การเงินระหว่างประเทศ : ทฤษฎีและนโยบาย 2547 บทที่ 10. ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ลักษณะและชนิด : การแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการ หรือ การส่งออก-นำเข้า การลงทุน และการกู้ยืม.
E N D
การค้าและการเงินระหว่างประเทศของไทยการค้าและการเงินระหว่างประเทศของไทย
เอกสารอ้างอิง พรายพล คุ้มทรัพย์ เศรษฐศาสตร์การเงินระหว่างประเทศ: ทฤษฎีและนโยบาย 2547 บทที่ 10
ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ • ลักษณะและชนิด: • การแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการ หรือ • การส่งออก-นำเข้า • การลงทุน และการกู้ยืม
ประโยชน์ของธุรกรรมทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศประโยชน์ของธุรกรรมทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ • การผลิตตามถนัด (Specialization) เป็นไปตามความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบ • การขยายขนาดของตลาด • การถ่ายทอดเทคโนโลยีและวิทยาการ การขยายตัวทางเศรษฐกิจ รายได้และการมีงานทำ
ข้อเสียของธุรกรรมทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศข้อเสียของธุรกรรมทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ • ความผันผวนของเศรษฐกิจโลกทั้งทางการค้า และการเงิน • การครอบงำของชาวต่างชาติ • ความไม่สมดุลทางเศรษฐกิจและสังคม ระหว่างกลุ่มคนที่มีโอกาสต่างกัน ทางการศึกษาและฐานะทางเศรษฐกิจ
โครงสร้างการค้าและการเงินระหว่างประเทศของไทยโครงสร้างการค้าและการเงินระหว่างประเทศของไทย • การค้าระหว่างประเทศเพิ่มความสำคัญอย่างเร็ว • ดูจากมูลค่าการค้าต่อ GDP
โครงสร้างการค้าและการเงินระหว่างประเทศของไทยโครงสร้างการค้าและการเงินระหว่างประเทศของไทย โครงสร้างการนำเข้าเปลี่ยนน้อย ส่วนใหญ่เป็นสินค้าทุน วัตถุดิบ (+น้ำมัน)
โครงสร้างสินค้านำเข้าของไทยโครงสร้างสินค้านำเข้าของไทย
โครงสร้างสินค้านำเข้าของไทยโครงสร้างสินค้านำเข้าของไทย
โครงสร้างการค้าและการเงินระหว่างประเทศของไทยโครงสร้างการค้าและการเงินระหว่างประเทศของไทย • ส่วนใหญ่นำเข้าจากประเทศอุตสาหกรรม • (ญี่ปุ่นมากที่สุด) แต่มีสัดส่วนลดลง • นำเข้าจากอาเซียนและจีนมากขึ้นในระยะหลัง
แหล่งสินค้านำเข้าของไทยแหล่งสินค้านำเข้าของไทย
โครงสร้างการค้าและการเงินระหว่างประเทศของไทยโครงสร้างการค้าและการเงินระหว่างประเทศของไทย • การส่งออก กระจายทั้งชนิดของสินค้าและตลาด • สินค้าอุตสาหกรรมโตเร็วมาก • สินค้าใช้แรงงานมากมีแนวโน้มลดลง • สินค้าใช้ hi-tech มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น
โครงสร้างสินค้าส่งออกของไทยโครงสร้างสินค้าส่งออกของไทย
โครงสร้างสินค้าส่งออกของไทยโครงสร้างสินค้าส่งออกของไทย
โครงสร้างการค้าและการเงินระหว่างประเทศของไทยโครงสร้างการค้าและการเงินระหว่างประเทศของไทย • ต้องพึ่งตลาดในประเทศพัฒนาแล้วประมาณ 50% (สหรัฐฯ สัดส่วนสูงสุด) แต่มีสัดส่วนลดลง • ขายให้อาเซียน จีน และฮ่องกงในสัดส่วนมากขึ้น
ตลาดสินค้าส่งออกของไทยตลาดสินค้าส่งออกของไทย
โครงสร้างการค้าและการเงินระหว่างประเทศของไทยโครงสร้างการค้าและการเงินระหว่างประเทศของไทย • การค้าบริการ : เกินดุลตลอด • เพราะรายได้จากการท่องเที่ยว • และแรงงานไทยในต่างประเทศ
โครงสร้างการค้าและการเงินระหว่างประเทศของไทยโครงสร้างการค้าและการเงินระหว่างประเทศของไทย • การลงทุนโดยตรงจากต่างชาติ (FDI): • การไหลทะลักของทุนจากญี่ปุ่น และประเทศอุตสาหกรรมใหม่ (NICs) ในปลายทศวรรษ 1980 • ต่างชาติเข้าซื้อกิจการหลังวิกฤติ • ทุนไทยไปต่างประเทศยังน้อย
โครงสร้างการค้าและการเงินระหว่างประเทศของไทยโครงสร้างการค้าและการเงินระหว่างประเทศของไทย • Portfolio investment: • ค่อนข้างผันผวน • มีอิทธิพลมากขึ้นในตลาดหุ้นไทย • การกู้ยืมจากต่างชาติ : • ก่อนวิกฤติ รัฐบาลกู้น้อยลง แต่เอกชนกู้มากขึ้น • ใช้หนี้คืนมากหลังวิกฤติ
โครงสร้างการค้าและการเงินระหว่างประเทศของไทยโครงสร้างการค้าและการเงินระหว่างประเทศของไทย • บัญชีเดินสะพัดขาดดุลต่อเนื่องเรื้อรังก่อน 2540 • แต่กลับเกินดุลได้หลังลอยตัวค่าเงินบาท
โครงสร้างการค้าและการเงินระหว่างประเทศของไทยโครงสร้างการค้าและการเงินระหว่างประเทศของไทย • ก่อนปี 2540 บัญชีชำระเงิน (Balance of payments) • เกินดุลตลอดเพราะเงินลงทุนและเงินกู้จาก • ต่างประเทศไหลเข้ามามาก • ทำให้ทุนสำรองระหว่างประเทศสะสมมากขึ้น
โครงสร้างการค้าและการเงินระหว่างประเทศของไทยโครงสร้างการค้าและการเงินระหว่างประเทศของไทย
โครงสร้างการค้าและการเงินระหว่างประเทศของไทยโครงสร้างการค้าและการเงินระหว่างประเทศของไทย • หลังวิกฤติ เงินทุนไหลออกมา (บัญชีทุนติดลบ) • เพราะชำระหนี้คืนต่างชาติ • ทุนสำรองฯ ลดฮวบ • แต่ส่งออกได้ดีเพราะเงินบาทลดค่ามาก บัญชี • เดินสะพัดและบัญชีชำระเงินเริ่มเกินดุล • และทุนสำรองฯ เริ่มสะสมขึ้นอีก