1 / 28

761 310 สถิติธุรกิจ

761 310 สถิติธุรกิจ. บทที่ 6 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์. หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 2 ตัวขึ้นไปที่มีความชัดเจนเป็นที่สังเกตหรือวัดได้ โดยค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (Correlation Coefficient, r) ซึ่งเป็นค่าต่อเนื่องระหว่าง –1.0 - ­ - 0 - ­ - + 1.0. สหสัมพันธ์ (Correlation).

Download Presentation

761 310 สถิติธุรกิจ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 761 310 สถิติธุรกิจ บทที่ 6 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์

  2. หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 2 ตัวขึ้นไปที่มีความชัดเจนเป็นที่สังเกตหรือวัดได้ โดยค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (Correlation Coefficient, r) ซึ่งเป็นค่าต่อเนื่องระหว่าง –1.0 - ­ - 0 - ­ - + 1.0 สหสัมพันธ์ (Correlation)

  3. 1. สหสัมพันธ์เชิงบวก ( Positive Correlation ) เป็นความสัมพันธ์ที่มีทิศทางเดียวกัน เช่น ตัวแปรอิสระมีค่าเพิ่มขึ้น ในขณะที่ตัวแปรตามมีค่าเพิ่มขึ้น 2.ไม่มีสหสัมพันธ์ เมื่อ r = 0 หมายความว่า ไม่มีความสัมพันธ์กันเลย สหสัมพันธ์ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ

  4. 3.สหสัมพันธ์เชิงลบ ( Negative Correlation ) เป็นความสัมพันธ์ที่มีทิศทางตรงกันข้ามซึ่งกันและกัน เช่น ตัวแปรอิสระมีค่าเพิ่มขึ้น ในขณะที่ตัวแปรตามมีค่าลดลง

  5. พิจารณาลำดับความมากน้อยของสหสัมพันธ์ได้ตามตารางนี้พิจารณาลำดับความมากน้อยของสหสัมพันธ์ได้ตามตารางนี้

  6. ความสัมพันธ์ (Relation) อาจจะแบ่งได้เป็น 3 ระดับ 1. ความสอดคล้อง (Association) เป็นความสัมพันธ์ที่มีความชัดเจนน้อย และมักจะเกิดขึ้นกับตัวแปรที่มีค่าแบบไม่ต่อเนื่อง (discrete variable) มีการวัดตามมาตรานามบัญญัติ (nominal scale) หมายเหตุ

  7. 2.สหสัมพันธ์ เป็นความสัมพันธ์ที่มีความชัดเจนขึ้น และจะเกิดขึ้นจากตัวแปรที่มีค่า ต่อเนื่อง (continuous variable) มีการวัดตามมาตราอันตรภาค (interval scale) และอัตราส่วน (ratio scale) 3.ความสัมพันธ์เชิงเหตุผล (Causality หรือ Cause-Effect) เป็นความสัมพันธ์ของปรากฏการณ์ที่กำหนดได้อย่างชัดเจนว่า ตัวแปรอิสระเป็นเหตุให้มีการเปลี่ยนแปลงในตัวแปรตาม

  8. หมายถึง ค่าเฉลี่ยของผลคูณของคะแนนกับค่าเฉลี่ยของตัวแปรอิสระและตัวแปรตามต่อจำนวนตัวอย่างหรือประชากรแล้วแต่กรณี ความแปรปรวนร่วม (Covariance, หรือ )

  9. เขียนเป็นสูตรได้ดังนี้เขียนเป็นสูตรได้ดังนี้ Sample Covariance : = เมื่อ = Sample Covariance = คะแนนของตัวแปร X = คะแนนของตัวแปร Y = ค่าเฉลี่ยของตัวแปร X = ค่าเฉลี่ยของตัวแปร Y n = จำนวนตัวอย่าง

  10. Population Covariance: = เมื่อ = Population Covariance = คะแนนของตัวแปร X = คะแนนของตัวแปร Y = ค่าเฉลี่ยของประชากร X = ค่าเฉลี่ยของประชากร Y N = จำนวนประชากร

  11. เป็นค่ากำหนดความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 2 ตัวขึ้นไป จากมาตราการวัดแบบอันดับ อันตรภาค และอัตราส่วน เป็นสัดส่วนของความแปรปรวนร่วม (Covariance) กับผลคูณของความแปรปรวนของตัวแปรดังกล่าว สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (Correlation Coefficient, r)

  12. เขียนเป็นสูตรได้ดังนี้เขียนเป็นสูตรได้ดังนี้ Sample Data : r = เมื่อ r = สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ = ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ X และ Y = ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ X = ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ Y

  13. Population Data: r = เมื่อr = สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ = ความแปรปรวนร่วมของประชากร X และ Y = ความแปรปรวนร่วมของประชากร X = ความแปรปรวนร่วมของประชากร Y

  14. 4. การหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ มีวิธีการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์หลายวิธีและมีฐานคติที่แตกต่างกัน คือ Spearman Rank Correlation ( ) ใช้หาค่าสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ของตัวแปรที่เป็นอันดับ (rank)

  15. โดยใช้สูตร = เมื่อ = Spearman Rank Correlation D = Rank difference n = จำนวนตัวอย่าง

  16. (2) Pearson Product – Moment Correlation ใช้หาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของตัวแปร 2 ตัว แต่ละตัววัดตัวแปรด้วยมาตราอันตรภาค (Interval Scale) หรือสัดส่วน (Ratio Scale)

  17. คำนวณค่า r ได้จากสูตร r = = = =

  18. เมื่อ r = สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ = ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ X = ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ Y = ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานร่วมของ X และ YN N = จำนวนตัวอย่าง

  19. ความสัมพันธ์ของ X และ Y แสดงได้ดังรูปนี้ X Y

  20. 3.สหสัมพันธ์พหุคูณ (Multiple Correlation) เป็นความสัมพันธ์ของตัวแปรอิสระ 2 ตัวขึ้นไป กับตัวแปรตาม 1 ตัว หรือค่าของตัวแปรตาม 1 ตัว ร่วมกันกำหนดโดยตัวแปรอิสระอย่างน้อย 2 ตัว เช่น X ร่วมกับ Z กำหนดหรือมีสหสัมพันธ์กับ Y

  21. เขียนเป็นตัวแบบได้ดังนี้เขียนเป็นตัวแบบได้ดังนี้ X = สหสัมพันธ์ของ X และ Y = สหสัมพันธ์ของ Z และ Y = สหสัมพันธ์ของ X และ Y = สหสัมพันธ์ของ Z และ Y Y Y Z Z Z ตัวแปรตาม ตัวแปรอิสระ

  22. หาค่า r จากสูตร หา r ของ X และ Y ได้จากสูตร = หา r ของ X และ Z ได้จากสูตร = หา r ของ Z และ Y ได้จากสูตร =

  23. และหาค่าของ X และ Z ที่มีต่อ Y ได้จากสูตร = เมื่อ = r ของ X และ Z ที่มีต่อ Y = r ของ Y กับ X = r ของ Y กับ Z = r ของ X กับ Z

  24. สหสัมพันธ์พหุคูณ (Multiple Correlation) ของ X และ Z ต่อ Y แสดงได้ดังรูปนี้ X Y Z จะหา Multiple Correlation ได้ก็ต่อเมื่อกลุ่มตัวอย่างมีขนาดใหญ่ไม่น้อยกว่า 200 คน (n 200)

  25. หมายเหตุCoefficient of Determination การที่ตัวแปรอิสระหนึ่งตัวหรือหลายตัวเป็นตัวกำหนดการเปลี่ยนแปลงในตัวแปรตาม เรียกค่าที่เป็นตัวกำหนดนี้ว่า “สัมประสิทธิ์การกำหนด“ (Coefficient of Determination) มีค่าเท่ากับ คือ = นี้นอกจากจะเป็นตัวเลขเป็นสัดส่วน (มีจำนวนเต็มเท่ากับ 1) แล้ว ยังเป็นร้อยละได้อีกด้วย เช่น ได้ = 0.65 หมายความว่า x เป็นตัวกำหนด y ร้อยละ 65

  26. (4) สหสัมพันธ์บางส่วน (Partial Correlation) เป็นสหสัมพันธ์ระหว่าง 2 ตัวแปรโดยควบคุม (controlled) ตัวแปรที่ 3 หรือแยกตัวแปรที่ 3 ออก (Partialed out) เป็นวิธีการหา สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 2 ตัว จากสหสัมพันธ์ของตัวแปร 3 ตัว เช่น ตัวแปร x y และz สัมพันธ์กันทุกตัว คือ x rxy z rxz y rzy

  27. ถ้าเอา z ออกก็จะเหลือสหสัมพันธ์ระหว่าง x กับ y ซึ่งหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์บางส่วนได้จากสูตร rxy.z = เมื่อ rxy.z = สหสัมพันธ์ของ x และ y เมื่อควบคุม z rxy = สหสัมพันธ์ของ x และ y rxz = สหสัมพันธ์ของ x และ z ryz = สหสัมพันธ์ของ y และ z

  28. รูป สหสัมพันธ์บางส่วนของ x และ y เมื่อควบคุม z x x z z + y y Partialed out z สหสัมพันธ์ระหว่าง x y และ z สหสัมพันธ์บางส่วนของ x และ y เมื่อเอา z ออกไป

More Related