620 likes | 888 Views
การถ่ายโอนภารกิจการจัดการศึกษาให้ อปท. วิพล นาคพันธ์ ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพัทลุง 14-15 ธันวาคม 2547. คำถามพื้นฐานเรื่องการถ่ายโอน. ทำไมต้องมาถ่ายโอนตอนนี้ ทำไมต้องถ่ายโอนโรงเรียนให้ อปท. อปท.ตั้งโรงเรียนเองไม่ได้หรือ ทำไมไม่โอนสาธารณสุขและตำรวจด้วย
E N D
การถ่ายโอนภารกิจการจัดการศึกษาให้ อปท. วิพล นาคพันธ์ ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพัทลุง 14-15 ธันวาคม 2547
คำถามพื้นฐานเรื่องการถ่ายโอนคำถามพื้นฐานเรื่องการถ่ายโอน • ทำไมต้องมาถ่ายโอนตอนนี้ • ทำไมต้องถ่ายโอนโรงเรียนให้ อปท. อปท.ตั้งโรงเรียนเองไม่ได้หรือ • ทำไมไม่โอนสาธารณสุขและตำรวจด้วย • ทำไมต้องเร่งรัดการออกกฎกระทรวงประเมินความพร้อมเพื่อถ่ายโอนโรงเรียนให้ อปท. • ตัวชี้วัดทำไมง่ายต่อการผ่านเหลือเกิน • เงื่อนไขในประกาศกระทรวงทำไมใช้คำว่า “ควร”ซึ่งไม่มีสภาพบังคับ
คำถามพื้นฐานเรื่องการถ่ายโอน (ต่อ) • ยกเลิกการถ่ายโอนได้หรือไม่ • ชะลอการถ่ายโอนได้หรือไม่ • ยืดเวลาการประเมินความพร้อมได้หรือไม่ • ประเมินความพร้อมให้เข้มได้หรือไม่ • ประเมินความพร้อมให้ อปท.สอบไม่ผ่านได้หรือไม่ • โอนโรงเรียนไป คนไม่โอนไปได้หรือไม่
รัฐธรรมนูญ (ม.43, 81, 284, 289) พรบ.แผนและขั้นตอนฯ (ม.16,17,18,19,30,31,32) พรบ.การศึกษาฯ (ม.41,42) แผนกระจายฯ 2543 แผนปฏิบัติฯ 2545 แผนปฏิบัติฯ ถ่ายโอนบุคลากร 2547 พรบ.ระเบียบ ศธ.ฯ (ม.21) กฎและประกาศ ศธ. ประเมินความพร้อม การจัดการศึกษาและการถ่ายโอนสถานศึกษาของกระทรวง ศึกษาธิการให้ อปท.
แผนการกระจายอำนาจฯ แผนปฏิบัติการ ฯ • แผนกระจายอำนาจ/แผนปฏิบัติการ ให้เสนอ ครม.เห็นชอบ แล้วรายงานรัฐสภาเพื่อประกาศใน รจ. ใช้บังคับต่อไป • แผนปฏิบัติการมีผลผูกพันหน่วยงานของรัฐต้องดำเนินการ ตามแผน • สภาพการณ์เปลี่ยนแปลง คกก.ปรับปรุงแผนปฏิบัติการได้ • คกก.รายงานผลการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติการให้ ครม.ทราบ ทุกปี พร้อมปัญหาอุปสรรค และแนวทางแก้ไขเสนอแก้กฎหมาย • คกก.ทบทวนแผนฯใหม่ทุกระยะไม่เกิน 5 ปี เพื่อกระจายอำนาจเพิ่มขึ้น
การจัดการศึกษาของ อปท. • อปท.มีสิทธิจัดการศึกษา ระดับใดระดับหนึ่งหรือทุกระดับ ตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการ ภายในท้องถิ่น การประเมินความพร้อมเป็นไปตามกฎกระทรวงและประกาศกระทรวง • อปท.มีหน้าที่จัดการศึกษา รัฐต้อง ถ่ายโอนภารกิจการจัดการศึกษาให้ อปท.เมื่อ อปท.ผ่านการประเมินความพร้อม
สถานศึกษาที่อยู่ในแผนการถ่ายโอนสถานศึกษาที่อยู่ในแผนการถ่ายโอน • สถานศึกษาสังกัด สพฐ. ที่เปิดสอนระดับก่อนประถมศึกษาถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย • สถานศึกษาสังกัด สพฐ. ที่เป็นสถานศึกษาเพื่อคนพิการ • ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอ/กิ่งอำเภอ/เขต ในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
สถานศึกษา • สถานศึกษาทั่วไป • สถานศึกษาพิเศษ
สถานศึกษาพิเศษ 1. เน้นความเป็นเลิศ/เขตบริการกว้าง 2. เชิงทดลอง/วิจัย/พัฒนา 3. พิการ/ด้อยโอกาส 4. ตัวอย่าง/ต้นแบบ * 5. ประถมนักเรียน 300 คนขึ้นไป มัธยมนักเรียน 1,500 คนขึ้นไป
สถานศึกษาพิเศษ 6. ยังไม่ผ่านเกณฑ์ประเมิน สมศ./ ขาดความพร้อม 7. เป็นองค์การมหาชน 8. พระราชดำริ/ราชานุเคราะห์/ เฉลิมพระเกียรติ 9. บริจาคที่ดินและอาคารให้รัฐจัด
การจัด/ถ่ายโอนสถานศึกษาตามความพร้อมการจัด/ถ่ายโอนสถานศึกษาตามความพร้อม
คณะอนุกรรมการ ส่งเสริมการจัดการศึกษาของ อปถ. ตั้งโดย รมว.ศธ. รับฟังความคิดเห็น 4 ภูมิภาค ร่างหลักเกณฑ์ ประเมินความพร้อม ประชุมปฏิบัติการ คณะทำงานจัดทำ หลักเกณฑ์และยกร่างกฎกระทรวง กฎกระทรวงและประกาศกระทรวง ประชุมพิจารณ์ ทดลองใช้ คณะกรรมการปฏิรูป การศึกษา ตั้งโดย นรม. คณะอนุกรรมการถ่ายโอน ภารกิจ การศึกษา ตั้งโดย กกถ. สำนักงานคณะ กรรมการ กฤษฎีกา กกถ. ตั้งโดย นรม. คณะรัฐ มน ตรี คณะกรรมการกลั่นกรองเรื่องเสนอ ครม. คณะที่ 4
4. ยื่นเรื่องขอประเมินความพร้อมต่อสพท./ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง 1. อปท.ตรวจสอบรายได้ รายได้ถึงเกณฑ์ รายได้ไม่ถึงเกณฑ์ 2. ฝ่ายบริหารกำหนดนโยบายการจัดการศึกษา 3. นำเสนอสภาอปท.ให้ความเห็นชอบ 5. เสนอชื่อกรรมการประเมินให้สพท./ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง 6. จัดเตรียมเอกสาร/หลักฐานรอรับการประเมินความพร้อม การขอประเมินความพร้อมของ อปท.
สพท./ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องสพท./ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง • รับคำขอและดำเนินการก่อนประเมิน ความพร้อม • ประเมินความพร้อม • ดำเนินการตามผลการประเมิน ความพร้อม
บทบาทหน้าที่สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาก่อนประเมินความพร้อม • จัดทำข้อมูลสถานศึกษาของรัฐใน ขพท. • รับคำขอประเมินความพร้อม/ตรวจสอบ ความถูกต้อง/รายงาน สพฐ. • ให้ความตกลงการขอโอนสถานศึกษาพิเศษ • แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินความพร้อม ประชุมชี้แจง และอำนวยความสะดวก
ตรวจสอบคำขอ • เวลาที่ยื่นคำขอ • ยื่นคำขอตรงตามอำนาจหน้าที่ของ ส่วนราชการ • ความถูกต้องสมบูรณ์ของคำขอ • รายได้
ก่อนเปิดภาคเรียน 16 พ.ค. 180 วัน 30 วัน 60 วัน 90 วัน อปท.เตรียมจัดการศึกษา (ถ้าผ่าน การประเมิน) คณะกรรมการฯประเมิน อปท.ยื่นขอ สพท.ตั้งกรรมการ
รายได้กับการจัดการศึกษารายได้กับการจัดการศึกษา • ไม่เกิน 5 ล้าน ก่อนประถม • เกิน 5 ล้าน-ไม่เกิน 10 ล้าน ประถม • เกิน 10 ล้าน-ไม่เกิน 20 ล้าน มัธยม • เกิน 20 ล้าน ทุกระดับ
วิธีคิดรายได้ • รายได้+เงินอุดหนุนทั่วไป+เงินกู้ (ไม่รวมเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ) • คิด 3 ปีงบประมาณย้อนหลัง (ไม่นับปีงบประมาณที่ขอประเมิน) • เฉลี่ยเป็นรายได้ต่อปี • เพียงพอที่จะใช้จัดการศึกษาได้สัมฤทธิ์ผล
การให้ความตกลงโอนสถานศึกษาพิเศษการให้ความตกลงโอนสถานศึกษาพิเศษ • สถานศึกษาพิเศษให้โอนได้ทั้งหมดถ้าผ่านการประเมินความพร้อมในระดับที่กำหนด แต่ขึ้นอยู่กับความ ตกลงเป็นกรณี ๆ ไป • ควรให้ความตกลงโอน/ไม่โอนสถานศึกษาพิเศษทันทีที่ได้รับคำขอหรือก่อนประเมินความพร้อม • อำนาจการให้ความตกลงโอน/ไม่โอนสถานศึกษาพิเศษเป็นของ ผอ.สพท.โดยปรึกษา กพท.
คณะกรรมการประเมินฯ 9 คน • ส่วนราชการ 3 คน • อปท. 3 คน • ผู้ทรงคุณวุฒิ 3 คน
สพท.แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินความพร้อมสพท.แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินความพร้อม • แต่งตั้งภายใน ๓๐ วัน นับแต่ได้รับคำขอ(ไว้ถูกต้อง) • ตั้งกรรมการผู้แทน สพท. ๓ คน (ควรชำนาญ) • การประเมินผล • นโยบายและแผน • การตรวจสอบบัญชี • ผู้แทน อปท. ๓ คน (ตามเสนอ) • ผู้ทรงคุณวุฒิ ๓ คน (คนที่ ๑ ของ อปท.และ สพท. + ๑ คน จากคนที่ ๒ ของ อปท.และ สพท. ถ้าตกลงกันไม่ได้ให้จับสลาก) • เลขานุการ(สพท.) ผู้ช่วยเลขานุการ (อปท.)
เมื่อได้รายชื่อกรรมการประเมินความพร้อมแล้วเมื่อได้รายชื่อกรรมการประเมินความพร้อมแล้ว • เชิญประชุมเลือกผู้ทรงคุณวุฒิคนหนึ่ง เป็นประธาน • แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินความพร้อม • ประชุมตรวจสอบคำขอและวางแผนการประเมิน • ประชุมชี้แจงหลักเกณฑ์/วิธีการประเมิน • จัดสิ่งอำนวยความสะดวกในการประเมิน
การคิดระดับคุณภาพรวม (xy) y x = ระดับคุณภาพที่ได้ในแต่ละตัวชี้วัด y = ค่าน้ำหนักของแต่ละตัวชี้วัด
การผ่านเกณฑ์ (คะแนนเต็ม 3.00) • ต่ำ ไม่ถึง 1.5 • ปานกลาง 1.5 ไม่ถึง 2.10 • สูง 2.10 ไม่ถึง 2.70 • สูงมาก 2.70 ขึ้นไป
การถ่ายโอนสถานศึกษาตามผลการประเมินการถ่ายโอนสถานศึกษาตามผลการประเมิน • ผลการประเมินต่ำกว่า ๑.๕ ถือว่า มีความพร้อมต่ำ ไม่มีการถ่ายโอน • ผลการประเมิน ๑.๕ แต่ไม่ถึง ๒.๑ ความพร้อมปานกลาง โอนสถานศึกษาทั่วไป และสถานศึกษาพิเศษ ๕ ประถมศึกษา (ที่ไม่สงวนไว้) • ผลการประเมิน ๒.๑ แต่ไม่ถึง ๒.๗ โอนสถานศึกษาทั่วไป และสถานศึกษาพิเศษ ๕ (ที่ไม่สงวนไว้) • ผลการประเมิน ๒.๗ ขึ้นไป โอนได้ทั้งหมด (ยกเว้นที่สงวนไว้)
ดำเนินการตามผลการประเมินความพร้อมดำเนินการตามผลการประเมินความพร้อม • แจ้งผลการประเมินให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทราบ • เตรียมการถ่ายโอน • งาน • เงิน(รวมงบประมาณ/ทรัพย์สิน) • คน • รายงาน สพฐ.พิจารณาอนุมัติการถ่ายโอน
เงื่อนไขที่ อปท.ดำเนินการก่อนจัดการศึกษา • กระจายอำนาจให้สถานศึกษา • โครงสร้างภายใน อปท. • คณะกรรมการที่ปรึกษา อปท. • ระบบบริหารบุคคล
พนักงานส่วนท้องถิ่น ข้าราชการ อบจ. พนักงานเมืองพัทยา พนักงาน เทศบาล ข้าราชการ กทม. พนักงาน อบต.
กลไกการบริหารงานบุคคลข้าราชการ อบจ. คณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น (ก.ถ.) ผู้ทรงคุณวุฒิ เป็นประธาน หัวหน้าสำนักงาน ก.ถ.เป็นเลขานุการ คณะกรรมการกลางข้าราชการ อบจ. รมว.มท.เป็นประธาน ข้าราชการกรมการปกครองเป็นเลขานุการ คณะกรรมการข้าราชการ อบจ. ผวจ.เป็นประธาน ปลัด อบจ.เป็นเลขานุการ
แผนปฏิบัติการถ่ายโอนบุคลากรให้แก่ อปท. พ.ศ.๒๕๔๗ (รจ.เล่ม ๑๒๑ ตอนพิเศษ ๑๑๕ ง ๑๓ ตุลาคม ๒๕๔๗)
รายงานการประชุมคณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรายงานการประชุมคณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ครั้งที่๗/๒๕๔๗ วันอังคารที่๑๓กรกฎาคม๒๕๔๗ ณห้องประชุม๓๐๑ตึกบัญชาการชั้น๓ ทำเนียบรัฐบาล มติที่ประชุมที่ประชุมมีมติเกี่ยวกับการถ่ายโอนภารกิจด้านการศึกษาและสาธารณสุขว่าน่าจะเป็นไปตามหลักการสำคัญเรื่องกลุ่มเป้าหมายอปท. ที่น่าจะมีความพร้อมในการรับโอนงานตามที่คณะทำงานฯนำเสนอในแต่ละด้านดังนี้ ด้านการศึกษา ๑. กรณีถ่ายโอนสถานศึกษางบประมาณบุคลากรและทรัพย์สินต้องตามไปสำหรับอัตรากำลังหากบุคลากรครูไม่ประสงค์จะไปกระทรวงศึกษาธิการต้องตัดโอนอัตรากำลังพร้อมงบประมาณให้อปท.สำหรับอัตราค่าตอบแทนและหลักประกันหรือสิทธิประโยชน์มอบให้สำนักงานก.พ. รับไปพิจารณา
รายงานการประชุมคณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรายงานการประชุมคณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ครั้งที่๑๑/๒๕๔๗ วันพฤหัสบดีที่๒๘ตุลาคม๒๕๔๗ ณห้องประชุม๓๐๑ตึกบัญชาการชั้น๓ ทำเนียบรัฐบาล เรื่องที่๕.๑ ผลความคืบหน้าการดำเนินการเตรียมความพร้อมด้านการจัดการศึกษาให้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เลขานุการชี้แจงว่าเนื่องจากกระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.)ได้มีการประชุมเมื่อวันที่ ๑๕ตุลาคม๒๕๔๗เพื่อพิจารณากำหนดแนวทางการดำเนินการเกี่ยวกับกฎกระทรวงกำหนด หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินความพร้อมในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของอปท. พ.ศ. ๒๕๔๗ได้ข้อสรุปที่ชัดเจนในประเด็นสำคัญดังนี้ ฯลฯ (๕) ที่ประชุมเห็นว่าในช่วงเปลี่ยนผ่านที่อปท. จะรับโอนสถานศึกษาในปี๒๕๔๘เห็นสมควรให้มีระบบการยืมตัวข้าราชการครูมาช่วยราชการทางด้านอปท. เพื่อมิให้เกิดผลกระทบทางด้านการจัดการศึกษาและหากเมื่อบุคลากรครูสมัครใจไปก็ให้ตัดโอนไปยังอปท. ต่อไป มติที่ประชุมที่ประชุมรับทราบความคืบหน้าการดำเนินการเตรียมความพร้อมด้านการจัดการศึกษาให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นและให้ฝ่ายเลขานุการจัดการประชุมหารือผู้ที่เกี่ยวข้องในการพิจารณาว่าสมควรแต่งตั้ง คณะอนุกรรมการขึ้นใหม่หรือแต่งตั้งคณะทำงานเพื่อทำหน้าที่พิจารณาระบบบริหารงานบุคคลของข้าราชการถ่ายโอนด้านการศึกษาและให้เสนอที่ประชุมในการพิจารณาครั้งต่อไป
มติคณะรัฐมนตรี๑๔ก.ย. ๒๕๔๗ ร่างพระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... คณะรัฐมนตรีมีมติรับทราบตามที่สำนักประสานงานการเมืองเสนอสรุปผลการประชุมคณะกรรมการประสานงานสภาผู้แทนราษฎรครั้งที่๔๓/๒๕๔๗วันจันทร์ ที่๑๓กันยายน๒๕๔๗และมอบให้รองนายกรัฐมนตรี(นายวิษณุเครืองาม) รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงยุติธรรมและเลขาธิการคณะรัฐมนตรีพิจารณาร่างพระราชบัญญัติของคณะรัฐมนตรีที่อยู่ในขั้นตอนดำเนินการต่างๆทั้งหมดเพื่อให้เห็นภาพรวมและให้มีความพร้อมที่จะดำเนินการต่อไปหากผลการพิจารณาร่วมกันเป็นประการใดให้ดำเนินการต่อไปได้ซึ่งรองนายกรัฐมนตรี (นายวิษณุเครืองาม) ประชุมเพื่อพิจารณาแล้ว เห็นชอบให้เสนอร่างพระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (ฉบับที่..) พ.ศ. .... ต่อสภาผู้แทนราษฎรพิจารณาเป็นเรื่องด่วน[๑๔/๐๙/๒๕๔๗] (http://www.cabinet.thaigov.go.th/cc_main21.htm )
มติคณะรัฐมนตรี๖ก.ค. ๒๕๔๗ ร่างพระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (ปรับปรุงบทบัญญัติเรื่องอำนาจการดำเนินกิจการของกองทุน) คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตามมติคณะกรรมการกลั่นกรองเรื่องเสนอคณะรัฐมนตรีคณะที่๑ที่มีมติเห็นชอบตามที่สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาเสนอร่างพระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ซึ่งสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณาแล้วในส่วนของบทนิยามคำว่า "นิติบุคคล", การมอบหมายให้จัดการ เงินกองทุน, การส่งเงินสะสมเข้ากองทุน, แผนการลงทุน,การบริหารเงินของผู้ซึ่งยังไม่ขอรับเงินคืนและรัฐมนตรีรักษาการและให้ส่งคณะกรรมการประสานงานสภาผู้แทนราษฎรพิจารณาก่อนเสนอสภาผู้แทนราษฎรพิจารณาต่อไป (http://www.cabinet.thaigov.go.th/cc_main21.htm)
ถามหากสมาชิกกบข. โอนย้ายไปสังกัดส่วนท้องถิ่นสถานภาพ การเป็นสมาชิกกบข. เป็นอย่างไรและต้องทำอย่างไร ตอบสมาชิกกบข. ที่ขอโอนย้ายไปยังส่วนท้องถิ่นเองโดยไม่ได้เกิดจากการโอนย้ายตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นพ.ศ.2542 จะถือว่าสิ้นสุดสมาชิกภาพการเป็นสมาชิกกบข.เนื่องจากข้าราชการส่วนท้องถิ่นไม่ได้เป็นสมาชิกกบข. และข้าราชการส่วนท้องถิ่นมีกฎหมายว่าด้วยเรื่อง รายได้เป็นของส่วนท้องถิ่นเองและส่วนท้องถิ่นแต่ละแห่งมีอำนาจหน้าที่ในการจัดสรรค่าใช้จ่ายของตนเองรวมถึงอำนาจหน้าที่ในการจัดการเรื่องเงินเดือนและสวัสดิการตลอดถึงการจัดการเรื่องของระบบบำนาญของ ข้าราชการส่วนท้องถิ่นโดยอยู่ภายใต้กระทรวงมหาดไทยและมีกฎหมายแยกต่างหากจากกฎหมายกบข.(http://www.gpf.or.th/FAQServlet)