250 likes | 448 Views
การสร้างและพัฒนาตัวชี้วัดรายบุคคล : กรณีศึกษาหอสมุด พระราชวังสนามจันทร์ สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร โดย กาญจนา สุคนธมณี, จันทร์เพ็ญ กล่อมใจขาว, นฤมล บุญญานิตย์, ยุพดี จารุทรัพย์, สมปอง มิสสิตะ, สุกัญญา โภคา และ เอกอนงค์ ดวงจักร์. นำเสนอโดย สุกัญญา โภคา. บท นำ.
E N D
การสร้างและพัฒนาตัวชี้วัดรายบุคคล : กรณีศึกษาหอสมุด พระราชวังสนามจันทร์ สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากรโดย กาญจนา สุคนธมณี, จันทร์เพ็ญ กล่อมใจขาว, นฤมล บุญญานิตย์, ยุพดี จารุทรัพย์, สมปอง มิสสิตะ, สุกัญญา โภคา และเอกอนงค์ ดวงจักร์ นำเสนอโดยสุกัญญา โภคา
บทนำ มหาวิทยาลัยศิลปากรได้ปรับระบบการบริหารงานบุคคลเข้าสู่ ระบบใหม่ หรือเรียกว่า “ระบบแท่ง” เมื่อวันที่ 21 กันยายน 2553 กำหนดการประเมินบุคลากร 2 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านผลสัมฤทธิ์ของงาน ประเมินจากปัจจัยวัดผลสัมฤทธิ์ของงานด้านตัวชี้วัดผลงานหลัก (Key Performance Indicators : KPIs)(คิดเป็น 70%) 2) ด้านความสามารถหรือสมรรถนะในการปฏิบัติงาน (Competency) ประเมินผลด้านความสามารถหรือสมรรถนะในการปฏิบัติงานตามตำแหน่งงานในเชิงพฤติกรรม(คิดเป็น 30%)
วัตถุประสงค์ เพื่อสร้างและพัฒนาตัวชี้วัดรายบุคคลสำหรับใช้เป็นเครื่องมือ ในการประเมินผลการปฏิบัติงานตามปัจจัยวัดผลสัมฤทธิ์ของงาน ด้านตัวชี้วัดผลงานหลักของข้าราชการและพนักงานในสถาบัน อุดมศึกษาของหอสมุด พระราชวังสนามจันทร์
ระยะเวลาในการสร้างและพัฒนา ระยะเวลาในการสร้างและพัฒนา จำนวน 3 รอบ • รอบที่ 1 รอบการประเมินที่ 1 ปีงบประมาณ 2554 (1 ตุลาคม 2553 ถึง 31 มีนาคม 2554) • รอบที่ 2 รอบการประเมินที่ 2 ปีงบประมาณ 2554 (1 เมษายน ถึง 30 กันยายน 2554) • รอบที่ 3 รอบการประเมินที่ 1 ปีงบประมาณ 2555 (1 ตุลาคม 2554 ถึง 31 มีนาคม 2555)
ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการขั้นตอนและวิธีการดำเนินการ • รับทราบนโยบายจากมหาวิทยาลัยศิลปากรและผู้บริหาร • จัดประชุมเพื่อพิจารณาตัวชี้วัด ค่าน้ำหนัก และเกณฑ์การให้คะแนน ที่บุคลากรต้องใช้ร่วมกัน • นำเสนอและชี้แจงต่อที่ประชุมข้าราชการและพนักงานในสถาบัน อุดมศึกษาของหอสมุด พระราชวังสนามจันทร์ • จัดทำข้อตกลง • จัดการประชุมเพื่อพิจารณาปรับปรุงตัวชี้วัด ค่าน้ำหนัก และเกณฑ์ การให้คะแนน ก่อนจัดทำข้อตกลงทุกรอบการประเมิน
สรุปผลอภิปรายผล 1. ได้รับตัวชี้วัดรายบุคคลของข้าราชการและพนักงานในสถาบันอุดมศึกษาที่เหมือนกัน มีค่าน้ำหนักและเกณฑ์การให้คะแนนเท่ากันทุกคน จำนวน 5 กิจกรรม
สรุปผลอภิปรายผล(ต่อ) • เกณฑ์การให้คะแนน • ระดับความพึงพอใจต่อหอสมุดฯ ของผู้ใช้บริการ
สรุปผลอภิปรายผล (ต่อ) • เกณฑ์การให้คะแนน • จำนวนโครงการ/กิจกรรม ที่บริหาร/สนับสนุน/มีส่วนร่วม
สรุปผลอภิปรายผล (ต่อ) • เกณฑ์การให้คะแนน • จำนวนวันลาป่วย ลากิจ
สรุปผลอภิปรายผล (ต่อ) • เกณฑ์การให้คะแนน • ระดับความสำเร็จของการเข้าอบรม/ประชุม/สัมมนา/ศึกษาดูงาน
สรุปผลอภิปรายผล (ต่อ) • เกณฑ์การให้คะแนน • ระดับความสำเร็จของการศึกษา/เรียนรู้องค์ความรู้และนวัตกรรมด้วยตนเองเพื่อนำมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน
สรุปผลอภิปรายผล (ต่อ) 2. ได้รับตัวชี้วัดรายบุคคลของข้าราชการและพนักงาน ในสถาบันอุดมศึกษาที่เหมือนกันและมีค่าน้ำหนักเท่ากันทุกคน แต่มีเกณฑ์การให้คะแนนต่างกัน จำนวน 2 กิจกรรม
สรุปผลอภิปรายผล (ต่อ) • เกณฑ์การให้คะแนน
สรุปผลอภิปรายผล (ต่อ) • เกณฑ์การให้คะแนน • จำนวนเรื่องของ blog หรือรายงาน หรือบทความ หรือบันทึกเล่าเรื่อง และมีการเผยแพร่
สรุปผลอภิปรายผล (ต่อ) 3. ได้รับตัวชี้วัดรายบุคคลที่เหมือนกัน แต่มีค่าน้ำหนักและเกณฑ์ การให้คะแนนต่างกัน สำหรับใช้ในการประเมินผลการปฏิบัติงาน ของข้าราชการและพนักงานในสถาบันอุดมศึกษาที่เป็นหัวหน้าฝ่าย/งาน จำนวน 1 กิจกรรม
สรุปผลอภิปรายผล (ต่อ) • เกณฑ์การให้คะแนน • ระดับความสำเร็จของการบริหารจัดการ
สรุปผลอภิปรายผล (ต่อ) 4. ได้รับตัวชี้วัดรายบุคคลที่มีเกณฑ์การให้คะแนนทั้งในเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ โดยที่ตัวชี้วัดใดใช้เกณฑ์การให้คะแนนเชิงปริมาณ จะมีค่าคะแนนในระดับ 1-3 เท่านั้น ส่วนค่าคะแนนในระดับ 4-5 ของตัวชี้วัดดังกล่าวจะเป็นเชิงคุณภาพ ทั้งตัวชี้วัดในเชิง แผนยุทธศาสตร์ ผลลัพธ์ของงานหลักที่รับผิดชอบ และงานอื่น ๆ
สรุปผลอภิปรายผล (ต่อ) นอกจากได้รับตัวชี้วัดตามวัตถุประสงค์แล้ว ผลการประเมินตามตัวชี้วัด สามารถนำไปเป็นข้อมูลประกอบการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงานด้านความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ได้ด้วย เนื่องจากเป็นข้อมูลที่สอดคล้องกัน
สรุปผลอภิปรายผล (ต่อ) • สรุปค่าน้ำหนัก (%) ของปัจจัยวัดผลสัมฤทธิ์ของงาน
ข้อเสนอแนะ ควรมีการปรับปรุงและพัฒนาตัวชี้วัดรายบุคคลอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สามารถใช้เป็นเครื่องมือในการวัดผลการปฏิบัติงาน ได้อย่างถูกต้อง แม่นยำ และเหมาะสมกับช่วงเวลาในการประเมิน
THE END THANK YOU