120 likes | 400 Views
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 ประยุกต์ทฤษฎี อุปทาน แรงงาน. รองศาสตราจารย์ดร. ภาวดี ทองอุไทย กรกฎาคม 2552. ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเกษียณอายุ. พิจารณาการตัดสินใจของแรงงาน ในเรื่อง อายุที่จะออกจากงานประจำ หลังเกษียณ สมมติให้มีรายได้จากบำนาญเพียงอย่างเดียว อายุเกษียณขึ้นอยู่กับ
E N D
เศรษฐศาสตร์แรงงานEC 471ประยุกต์ทฤษฎีอุปทานแรงงาน รองศาสตราจารย์ดร. ภาวดี ทองอุไทย กรกฎาคม 2552
ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเกษียณอายุปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเกษียณอายุ • พิจารณาการตัดสินใจของแรงงาน ในเรื่อง อายุที่จะออกจากงานประจำ • หลังเกษียณ สมมติให้มีรายได้จากบำนาญเพียงอย่างเดียว • อายุเกษียณขึ้นอยู่กับ • อัตราค่าจ้าง และ จำนวนเงินบำนาญ • อัตราค่าจ้างเพิ่ม substitution effect • เงินบำนาญเพิ่ม substitution and income effects
ตัวกำหนดขนาดของประชากรตัวกำหนดขนาดของประชากร • อุปทานแรงงานรวมขึ้นอยู่กับ • ขนาดของประชากร • การตัดสินใจมีส่วนร่วมในตลาดแรงงาน • จำนวนชั่วโมงทำงาน • การตัดสินใจของครัวเรือนเกี่ยวกับจำนวนบุตร อุปทานแรงงานระยะยาว • มอลธัส(คศ. 1798): • รายได้ และ การเจริญพันธุ์ มีความสัมพันธ์เชิงบวก • รายได้เพิ่ม แต่งงานเร็วขึ้น มีบุตรมากขึ้น • ประชากรเพิ่มขึ้นเป็น อนุกรมเรขาคณิต • ทรัพยากรธรรมชาติ เพิ่มช้ากว่า อนุกรมเลขคณิต
การตัดสินใจเจริญพันธุ์ของครัวเรือนความต้องการมีบุตรการตัดสินใจเจริญพันธุ์ของครัวเรือนความต้องการมีบุตร • แต่ รายได้ต่อหัวที่เพิ่มขึ้น อัตราการเจริญพันธุ์ที่ลดลง • การตัดสินใจเจริญพันธุ์ไม่เพียงขึ้นอยู่กับ รายได้ เท่านั้น แต่ ขึ้นอยู่กับ ราคา ด้วย • ครัวเรือนพิจารณา(ภายใต้ข้อจำกัดงบประมาณ) • จำนวนบุตร • ปริมาณสินค้าบริการ • ความต้องการมีบุตร (เป็นสินค้า commodity อย่างหนึ่ง) • ค่าใช้จ่าย หรือ ต้นทุนทางตรง–เสื้อผ้า อาหาร การศึกษา • ค่าใช้จ่าย หรือ ต้นทุนทางอ้อม–รายได้ที่พ่อแม่ต้องเสียโอกาสไป
อิทธิพลของรายได้และราคาต่อการตัดสินใจเจริญพันธุ์อิทธิพลของรายได้และราคาต่อการตัดสินใจเจริญพันธุ์ • บุตร จัดว่าเป็น สินค้าปกติ (normal good) • Income effect: รวยขึ้น จะ มีบุตรมากขึ้น (มอลธัส) • Substitution effect: ราคาสูงขึ้น คนจะหันไปซื้อสินค้าอื่น • เหตุใด ครัวเรือนชนบทจึงมีบุตรมากกว่าครัวเรือนในเมือง • การเจริญพันธุ์ และ ปัจจัยทางเศรษฐกิจ • จำนวนบุตร และ อัตราค่าจ้างของมารดา • นโยบายรัฐ และ การตัดสินใจมีบุตร • นโยบาย “ลูกคนเดียว” ของ ประเทศจีน • นโยบายภาษี และ ให้เงินอุดหนุนรายได้ ของประเทศในยุโรป