300 likes | 309 Views
ศึกษาแนวคิดการออกแบบบริการและ TQM ที่เหมาะสมสำหรับนำมาพัฒนากระบวนการทำงานของห้องสมุด. ออกแบบ “กระบวนการบริการท รัพ ยากสารสนเทศ” ให้สามารถรองรับการเรียนรู้ในห้องเรียนอัจฉริยะ. พัฒนารูปแบบการให้บริการสนับสนุนการเรียนรู้ออนไลน์บนพื้นฐานของการให้บริการทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุด.
E N D
ศึกษาแนวคิดการออกแบบบริการและ TQM ที่เหมาะสมสำหรับนำมาพัฒนากระบวนการทำงานของห้องสมุด • ออกแบบ “กระบวนการบริการทรัพยากสารสนเทศ” ให้สามารถรองรับการเรียนรู้ในห้องเรียนอัจฉริยะ พัฒนารูปแบบการให้บริการสนับสนุนการเรียนรู้ออนไลน์บนพื้นฐานของการให้บริการทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุด
เพิ่มความสะดวกในการเรียนการสอนในระบบ WU eLearning ใน smart classroom 1 ร้องขอบริการเพิ่มเติมได้ สะดวก เลือกใช้ทรัพยากรสารสนเทศที่ใช้ประกอบการเรียนการสอนได้อย่างรวดเร็ว ขณะนั่งเรียนคลิกอ่านได้ทันทีจากวิชาที่เรียน เสมือนมีหนังสืออยู่ใกล้ ๆ คุ้มค่า เสนอแนะและเพิ่มรายการทรัพยากรสารสนเทศ ลดภาระในการค้นหาแหล่งสารสนเทศในรายวิชานั้น ๆ ส่งเสริมให้เกิดการใช้ทรัพยากรสารสนเทศที่จัดหาและบอกรับอย่างคุ้มค่า
การออกแบบบริการงานพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ ช่วยปรับ “บทบาท” ของงานพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ ให้เป็นเชิงรุกมากขึ้น 2 จากการทำงานส่งผ่านทรัพยากรสารสนเทศมาเป็นการทำงานกับเนื้อหาและ แหล่งสารสนเทศในรูปแบบดิจิทัลสำหรับการเรียนการสอนแบบออนไลน์ พัฒนาตนเองให้มีความรู้ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย เพื่อให้คำปรึกษา คำแนะนำแก่ผู้ใช้ อาจารย์ช่วยสอนโดยการสร้างแหล่งสารสนเทศใหม่ เชื่อมโยงแหล่งสารสนเทศ และเผยแพร่สารสนเทศที่จัดทำไว้ไปยังผู้เรียนได้ ส่งเนื้อหาและ แหล่งสารสนเทศ ในรูปแบบดิจิทัล สำหรับการเรียนการสอนแบบออนไลน์ ตรวจสอบความสอดคล้องของทรัพยากรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดหาและส่งเสริมให้มีการใช้คุ้มค่ามากขึ้น
เกิดบริการใหม่ ๆ 3 บริการจัดทำ metadata ใน e-Lecture บริการนำส่งทรัพยากรสารสนเทศสู่ห้องเรียน 01 03 บริการเนื้อหาย่อผ่านหน้า OPAC ของระบบห้องสมุดอัตโนมัติ บริการแหล่งสารสนเทศสนับสนุนการเรียนการสอนในห้องเรียนอัจฉริยะ 04 02
ผนวกศาสตร์ด้านงานบริการเข้ากับทิศทางผนวกศาสตร์ด้านงานบริการเข้ากับทิศทาง การพัฒนาองค์กร 04 Service design TQM
มีขั้นตอนการดำเนินงานมีขั้นตอนการดำเนินงาน วางแผนการดำเนินงาน (PLAN) นำรายละเอียดที่ได้มาออกแบบกระบวนการให้บริการ (DO) P D C A ประเมินผล (ACT) ตรวจสอบ (CHECK)
P วางแผนการดำเนินงาน (PLAN) 04 03 02 01 05 ศึกษาขั้นตอนการออกแบบบริการ (Service Design) วิเคราะห์สภาพปัจจุบันและปัญหาของการให้บริการทรัพยากรสารสนเทศของหน่วยงาน ศึกษาคุณลักษณะ การเรียนการสอนห้องเรียนอัจฉริยะ ประชุมร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน ออกแบบบริการ นำวิธีคิดและวิธีปฏิบัติในกระบวนการออกแบบมาช่วยพัฒนารูปแบบงานบริการหรือผลิตภัณฑ์ที่จะสามารถสร้างประโยชน์ได้ต่อองค์กร เป็นห้องจำลองทางปัญญาในการปรับประยุกต์รูปแบบการใช้ให้เหมาะสมสอดคล้องกับสภาพการณ์และแหล่งทรัพยากร การมีช่องทางการสื่อสารที่หลากหลาย ทำให้ค้นคว้าได้ด้วยตนเองโดยไม่ต้องผ่านช่องทางห้องสมุด จะต้องทำทุกอย่างให้ง่าย เข้าถึงบริการได้เร็วขึ้น ใช้งานได้สะดวกขึ้น ใส่ใจในทุกรายละเอียดของจุดปะทะ (Touchpoints) เป็นห้องจำลองทางปัญญาในการปรับประยุกต์รูปแบบการใช้ให้เหมาะสมสอดคล้องกับสภาพการณ์และแหล่งทรัพยากร
P วางแผนการดำเนินงาน (PLAN) ศึกษาขั้นตอน การออกแบบบริการ (Service Design) 02 01 ออกแบบบริการ การนำวิธีคิดและปฏิบัติมาพัฒนารูปแบบงานบริการหรือผลิตภัณฑ์ เพื่อสร้างประโยชน์ได้สูงสุด ใช้งานได้สะดวกที่สุด และสร้างความประทับใจให้กับผู้ใช้ได้มากที่สุด ที่สำคัญคือสามารถสร้างผลตอบแทนคืนสู่องค์กรได้ทั้งในเชิงรูปธรรมและนามธรรม ด้วยการออกแบบบริการ ออกแบบให้สอดรับกับ 1. นโยบายปรับเปลี่ยนระบบการเรียนการสอนผ่านระบบ e-Learning WU eLearning ในรูปแบบ Smart Classroom 2. ปรับและบทบาทและหน้าที่ให้สอดคล้องกับพฤติกรรมผู้ใช้ 3. ใช้แนวคิดการออกแบบบริการ คือ จะต้องทำทุกอย่างให้ง่าย เข้าถึงบริการเร็ว ใช้งานสะดวกสร้างช่องทางใหม่และหลากหลาย
P วางแผนการดำเนินงาน (PLAN) 03 วิเคราะห์สภาพปัจจุบันและปัญหา ของการให้บริการทรัพยากรสารสนเทศของหน่วยงาน 1. ห้องสมุดเน้นการให้บริการแบบเผชิญหน้าและให้บริการผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นหลัก 2. สถิติในการเข้าใช้ห้องสมุดและการยืมทรัพยากรสารสนเทศมีจำนวนลดลง 3. พฤติกรรมที่เปลี่ยนไปของผู้ใช้บริการ จากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีที่ทันสมัย 4. การศึกษาค้นคว้าที่ดำเนินการได้ด้วยตนเองโดยไม่ต้องผ่านช่องทางห้องสมุด
P วางแผนการดำเนินงาน (PLAN) ประชุมร่วมกับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อวางแผนการ ดำเนินงานร่วมกัน 05 04 เป็นห้องจำลองทางปัญญาในการปรับประยุกต์รูปแบบการใช้ให้เหมาะสมสอดคล้องกับสภาพการณ์และแหล่งทรัพยากร ศึกษาคุณลักษณะ การเรียนการสอน ห้องเรียนอัจฉริยะ เป็นห้องจำลองทางปัญญาในการปรับประยุกต์รูปแบบการใช้ให้เหมาะสมสอดคล้องกับสภาพการณ์และแหล่งทรัพยากร
D นำรายละเอียดที่ได้มาออกแบบกระบวนการให้บริการ (DO) 02 03 01 • ศึกษาหลักการบริหาร TQM ออกแบบ กระบวนการใหม่ พัฒนาขั้นตอนและวิธีการดำเนินการในการสนับสนุนการเรียนการสอนในห้องเรียนอัจฉริยะ นำวิธีคิดและวิธีปฏิบัติในกระบวนการออกแบบมาช่วยพัฒนารูปแบบงานบริการหรือผลิตภัณฑ์ที่จะสามารถสร้างประโยชน์ได้ต่อองค์กร การทำงานเป็นทีม โดยบรรณารักษ์ที่ได้รับมอบหมายแบ่งความรับผิดชอบ โดยปรับบทบาทและวิธีการทำงานของพนักงานทั้งหมดให้สอดคล้องกับคุณลักษณะของห้องเรียนอัจฉริยะ
D นำรายละเอียดที่ได้มาออกแบบกระบวนการให้บริการ (DO) พัฒนาขั้นตอนและวิธีการดำเนินการในการสนับสนุน การเรียนการสอนในห้องเรียนอัจฉริยะ 2. จัดทำรายการและรายละเอียดตามโฟลเดอร์ของแต่ละรายวิชา • จัดทำเนื้อหา/ • แหล่งสารสนเทศ • ตามหลักสูตร/รายวิชา 03 5. เพิ่มเติม ปรับปรุง/แก้ไขตามความต้องการของผู้ใช้บริการ • 4. ผู้รับผิดชอบ • ติดต่อสื่อสารกับผู้สอนและผู้เรียน • 3. กำหนดสิทธิ์การเข้าถึง
1. จัดทำเนื้อหา • หรือแหล่งสารสนเทศ • ตามหลักสูตร/รายวิชา
2. จัดทำรายการและรายละเอียดลงในระบบ WU eLearning ตามโฟลเดอร์ของแต่ละรายวิชา
3. กำหนดสิทธิ์การเข้าถึง
4. ผู้รับผิดชอบ • ติดต่อสื่อสารกับผู้สอนและผู้เรียนแบบปฏิสัมพันธ์
C ตรวจสอบ(Check) ประเมินผล/การปรับปรุงกระบวนการ (Act) A ตรวจสอบ ประเมินผล เมื่อเราลงมือปฏิบัติแล้วต้องตรวจสอบว่าผลการปฏิบัติงาน แต่ละขั้นตอนนั้นเป็นอย่างไร ซึ่งเป็นขั้นตอนที่สำคัญเพื่อประเมินว่าผลการปฏิบัติงานนั้นมีประสิทธิภาพหรือไม่ การปรับปรุงแก้ไขหรือพัฒนางาน เป็นการประเมินว่าต้องมีการปรับปรุงแก้ไขในขั้นตอนใดแล้วนำมาปรับปรุงแก้ไขหรือถ้าไม่มีปัญหาใด ๆ ก็ยอมรับแนวทางปฏิบัติตามแผนที่ได้ผลสำเร็จเพื่อนำไปใช้ในงานครั้งต่อไป
การเชื่อมโยง link ของทรัพยากรสารสนเทศ ยืมตัวเล่ม หรือเอกสารฉบับเต็มมาอ่านหรือใช้บริการเสริมอื่น ๆ ได้ ผลการศึกษา ฐานข้อมูลหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (eBook) ลดเวลาในการสืบค้นจากแหล่งข้อมูลโดยตรงและสามารถใช้ประกอบการเรียนในรายวิชานั้น ๆ ได้เลย ปรับ “บทบาท” ของงานพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศให้เป็น เชิงรุกมากขึ้น สร้าง “บริการใหม่” สำหรับงานห้องสมุด เพิ่มดัชนีชี้วัดสำหรับงานบริการห้องสมุด ด้าน“นวัตกรรมการสนับสนุนการเรียนรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 20”