770 likes | 2.35k Views
CAMELS Analysis วิเคราะห์ทางการเงินของสหกรณ์. Camels Analysis คืออะไร ?.
E N D
CAMELS Analysis วิเคราะห์ทางการเงินของสหกรณ์
Camels Analysis คืออะไร ? • เครื่องมือวิเคราะห์ทางการเงิน ที่ได้รับการพัฒนาขึ้นมาเพื่อเป็นแนวทางในการตรวจสอบความมั่นคงทางการเงินของผู้กำกับดูแลสถาบันการเงิน และเป็นเครื่องมือในการเตือนภัยล่วงหน้า (Early warning system) เพื่อวัดระดับความเข้มแข็งขององค์กร
Camels คืออะไร ? • เครื่องมือชี้วัดทางการเงิน • เครื่องมือเตือนภัยล่วงหน้า (Early warning system) • เครื่องมือชี้แนะแนวทางทางการเงินที่ชัดเจนแต่ละด้าน • เครื่องมือวัดระดับความเข้มแข็งขององค์กร
ทำไมถึงCamels • ในอักษร C A M E L S สามารถถ่ายทอด • ความหมายทางการเงินได้อย่างตรงประเด็น • กระตุ้นให้เกิดการวิเคราะห์ครอบคลุมการเปลี่ยนแปลง • ในอนาคต • เข้าใจและง่ายต่อการใช้ • สามารถเป็นสัญญาณเตือนภัยทางการเงินล่วงหน้า • สามารถชี้ให้เห็นถึงความอ่อนไหวต่อการต้านทาน • ผลกระทบที่มีมาสู่การดำเนินงานของสหกรณ์
Camels ประโยชน์อะไร ? • ใช้เป็นแนวทางตรวจสอบความเข้มแข็ง/มั่นคงขององค์กร • เตือนภัยทางการเงินล่วงหน้า • วิเคราะห์ปัจจุบันสะท้อนถึงอนาคตได้ • เป็นเครื่องมือช่วยในการกำกับ ดูแล • เป็นเครื่องมือสำหรับการวางแผนธุรกิจสหกรณ์ • ช่วยในการตัดสินใจอย่างมีประสิทธิภาพ
History Concept Analyze Result Report C A M E L S เป็นคำย่อมาจาก วัตถุประสงค์ มิติการวิเคราะห์แต่ละด้านจะมีวัตถุประสงค์รองรับ……………………… C : Capital strength ความเพียงพอของเงินทุนต่อความเสี่ยง/ความเข้มแข็งของเงินทุน A: Asset quality คุณภาพของสินทรัพย์ M : Management ability ความสามารถของคณะกรรมการ/ ฝ่ายจัดการ E : Earning sufficiency ความสามารถในการทำกำไร ความเพียงพอของสภาพคล่องต่อความต้องการใช้เงิน L : Liquidity S : Sensitivity ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภายนอก ที่จะเกิดขึ้นต่องบการเงิน
ในปัจจุบัน มิติการวิเคราะห์ในระบบของ CAMELs ประกอบไปด้วย 6 ด้านหลัก เพื่อให้ครอบคลุมการเกิดการเปลี่ยนแปลงในอนาคต และเป็นเครื่องมือในการเตือนภัยล่วงหน้า (early warning system) Rating Component การพิจารณาด้านที่จะนำมาวิเคราะห์ Capital Asset การเงิน การบริหาร ความเสี่ยง Management C E A L M S จัดกลุ่มใหม่ Earning Liquidity ปัจจุบัน อนาคต Sensitivity CAMELS
ประเด็นที่วิเคราะห์ในเรื่องทุนประเด็นที่วิเคราะห์ในเรื่องทุน ในบริษัทและสถาบันการเงินเอกชนทั่วไป ความสำคัญของเงินทุนเป็นเกาะป้องกันการผันผวนของการดำเนินงานได้ และยังเป็นที่มาของเงินทุนที่มีต้นทุนต่ำ แต่ในระบบสหกรณ์ ทุนเรือนหุ้นยังสามารถไถ่ถอนได้นอกจากนั้น มีการจ่ายเงินปันสูงเป็นประเพณีปฏิบัติโดยอาศัยการกู้ยืมเงินภายนอก งบดุล งบกำไรขาดทุน สินทรัพย์ = กำไร การขาดทุน จะกัดกร่อนทุน หนี้สิน ภาระที่ต้องคืน แนวมีการดำเนินงาน จากกำไรไปขาดทุน หนี้สิน + ทุน หนี้สิน ทุนเรือนหุ้น ไถ่ถอนคืน ทุน - ทุน ภาวะปกติ ภาวะอ่อนแอ อาจเกิดภาวะ เงินออมวิ่งออก (deposit and shares run) ภาวะล้มละลาย หนี้สิน>สินทรัพย์ ประเด็นที่ควรวิเคราะห์ 1. ความเพียงพอและความเข็มแข็งของทุน 2. การก่อหนี้ ขาดทุน
ความเพียงพอและความเข็มแข็งของทุนความเพียงพอและความเข็มแข็งของทุน ความเข็มแข็งขององค์กรสามารถวัดได้จากการมีทุนสถาบันเพียงพอกับความเสี่ยงต่างๆได้ ทุนสถาบันควรมีลักษณะที่ไม่สามารถถอนได้และไม่ผูกพันที่จ่ายผลตอบแทน ความเข็มแข็ง ขององค์กร • ความผันผวน • ทางด้านธุรกิจ • การกู้ยืมเงินมากไป • หนี้สูญ (ความเสี่ยง • ด้านเครดิต) • การลงทุนที่มี • ผลตอบแทนต่ำ • ระยะยาว หรือมี • ผลตอบแทนที่ผัน • ผวน (ความเสี่ยงด้าน • ตลาดการเงิน) • ทุนที่มีอยู่ติดองค์กร • ตลอด • ทุนที่ไม่ผูกพันที่จ่าย • ผลตอบแทน ความเสี่ยง ทุนสถาบัน
วัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์สินทรัพย์วัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์สินทรัพย์ วัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์สินทรัพย์ คือ การวิเคราะห์ถึงคุณภาพของสินทรัพย์ต่างๆ โดยมุ่งไปที่สินทรัพย์ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้และผลกระทบต่อฐานะการเงินของสหกรณ์ ความเพียงพอของสำรองต่อการด้อยคุณภาพของสินทรัพย์เพื่อป้องกันผลกระทบที่ต่อฐานะการเงินของสหกรณ์ และแหล่งที่มาของเงินทุนเพื่อมาลงทุนในสินทรัพย์เหล่านี้ สินทรัพย์ สินทรัพย์ ไม่สร้าง กำไร เกินความต้องการ สินทรัพย์ หมุนเวียน กำไร ไม่มีคุณภาพ เงินกู้และ เงินลงทุน สินทรัพย์ถาวร ไม่มีประสิทธิภาพ แหล่ง เงินทุน
วัตถุประสงค์ของวิเคราะห์กำไรวัตถุประสงค์ของวิเคราะห์กำไร วัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์กำไร คือ การวิเคราะห์ความยั่งยืนขององค์กรที่จะสามารถแข่งขัน ระดมเงินทุนได้ ปรับตัวตามภาวะที่เปลี่ยนแปลงไป และไม่ได้รับผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจที่เลวร้าย กฎระเบียบและนโยบายรัฐ การเปลี่ยน แปลงทาง สภาวะทาง สังคมและประชากร ศาสตร์ ภาวะแข่งขัน ภาวะเศรษฐกิจ
วัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์สภาพคล่องวัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์สภาพคล่อง วัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์สภาพคล่อง คือ การพิจารณาว่า องค์กรจะมีแหล่งที่มาของกระแสเงินสดเพียงพอกับภาระผูกพันทางการเงิน (financial obligation) ที่จะถึงกำหนด หรือไม่ ภาระผูกพัน ทางการเงิน (financial obligation แหล่งที่มาของ สภาพคล่อง
การวิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจสหกรณ์ใช้แบบจำลอง CAMELS สหกรณ์ พึ่งตนเองได้ วัตถุประสงค์ : เพื่อประเมินความเข้มแข็ง/มั่นคงทางการเงิน บริหารจัดการ M เงินทุน ทำกำไร • โครงสร้างธุรกิจ • กำลังคน • การปฏิบัติ/บริหาร C E • ความพร้อมของทุน • ความเพียงพอ • ไม่เสี่ยง • ผลตอบแทน • บริหารค่าใช้จ่าย • มีประสิทธิภาพ • เน้นสมาชิกไม่เน้น • กำไร ภาวะเศรษฐกิจ CAMELS Model คุณภาพสินทรัพย์ A สภาพคล่อง L • มองการลงทุนคุ้มค่า • สินทรัพย์สร้างรายได้ • การกระจุกตัวของสินทรัพย์ • ผลตอบแทน • ความสมดุล • การหมุนเวียนดี • หลักทรัพย์สภาพคล่อง • ความเพียงพอของ • สินทรัพย์แปลงเป็นเงินสด ผลกระทบธุรกิจ S • ปัจจัยเสี่ยงภายใน • ปัจจัยเสี่ยงภายนอก ข้อจำกัด เป็นการวัดในภาพรวม ณ จุดของเวลา ภายใต้กรอบที่กำหนด ข้อเสนอแนะควรประเมินอย่างต่อเนื่อง เปรียบเทียบกับค่าเฉลี่ยมาตรฐาน (Peer group)
มุมมองทางการเงิน 6 มิติ Sensitivity Capital Strength CAMELS ANALYSIS 6 1 Liquidity 5 2 Asset Quality Earning Sufficiency 4 3 Management Ability
CAMELS วิเคราะห์สหกรณ์ ในมุมมอง 6 มิติ
มิติที่ 1 C : ความเพียงพอของเงินทุนต่อความเสี่ยง/ ความเข้มแข็งของเงินทุน 1 เงินทุนดำเนินงาน …............บาท ผลตอบแทนต่อส่วนของทุน ……% 2 แหล่งเงินทุน 3 สัดส่วนหนี้สินทั้งสิ้นต่อทุน ของสหกรณ์ .....เท่า • ภายในสหกรณ์ ..........…บาท........% • - เงินรับฝากสมาชิก ..........…บาท........% • - ทุนของสหกรณ์ ..........…บาท........% • - อื่นๆ ..........…บาท........% • ภายนอกสหกรณ์ ..........…บาท........% • - เงินกู้ยืม/เครดิตการค้า ......…บาท........% • - เงินรับฝากสหกรณ์และอื่นๆ..…บาท........% • ทุนสำรองต่อสินทรัพย์ทั้งสิ้น ….. เท่า • หนี้สินทั้งสิ้น ................บาท • ทุนของสหกรณ์ ................บาท การเติบโตทุนของสหกรณ์ ....% การเติบโตของหนี้สิน ....%
มิติที่ 2 A : คุณภาพของสินทรัพย์ 4 สินทรัพย์ …….............…บาท ผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ ...…% 5 การลงทุนในสินทรัพย์ 6 อัตราหมุนของสินทรัพย์ …..รอบ • เงินสด/เงินฝากธนาคาร/สก........บาท........% • ลูกหนี้ ...........บาท........% (ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ) (............)บาท........% • ที่ดิน/อาคาร/อุปกรณ์ ..........บาท........% • หลักทรัพย์/ตราสาร ...........บาท........% • สินค้าและอื่น ๆ ...........บาท........% • NPL/หนี้ชำระไม่ได้ตามกำหนด...............บาท • หรืออัตราการค้างชำระหนี้ ..............% ขาย/บริการ .................บาท (รายได้ธุรกิจหลัก) การเติบโตของสินทรัพย์ ....%
มิติที่ 3 M :ขีดความสามารถในการบริหาร การบริหารจัดการ ขีดความสามารถ/ สมรรถนะของคณะ กรรมการและฝ่าย จัดการ 7 โครงสร้างธุรกิจ 8 การบริหารงานและ การควบคุมภายใน • จำนวนสมาชิก ….คน • ขนาดสหกรณ์ ….. • ธุรกิจสหกรณ์ • รับฝากเงิน .........บาท........% • ให้กู้เงิน .........บาท........% • จัดหาสินค้า.........บาท........% • รวบรวมผลิตผล.....บาท........% • ให้บริการ • มูลค่าธุรกิจรวม ........บาท/ปี • .....บาท/เดือน • การเติบโตของธุรกิจ … % - การปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ มี/ไม่มี - จัดหาผู้ปฎิบัติงานที่มีความรู้ความ สามารถเหมาะสมกับงาน มี/ไม่มี - การแบ่งส่วนงานและการกำหนด หน้าที่ความรับผิดชอบ มี /ไม่มี - การจัดทำบัญชีและเอกสารหลักฐานมี/ไม่มี - การตรวจสอบกิจการ มี /ไม่มี - การทำแผนและงบประมาณ มี /ไม่มี - การติดตามประเมินผล มี /ไม่มี - ชั้นคุณภาพการควบคุมภายใน ระดับ .... *จัดทำงบการเงินได้/ไม่ได้ ..... *จัดจ้าง/ไม่จัดจ้างเจ้าหน้าที่บัญชี ..... 9 แนวโน้มปีหน้า - สมาชิกเพิ่ม(ลด) …% - ทุนเพิ่ม(ลด) …% - ธุรกิจเพิ่ม(ลด) …% - กำไรเพิ่ม(ลด) ....%
มิติที่ 4 E :การทำกำไร ความสามารถในการทำกำไร 10 อัตรากำไรสุทธิ ....% 11 กำไร(ขาดทุน)..บาท/ล้านบาท 12 อัตราเฉลี่ยต่อสมาชิก • รายได้ ...............บาท 100 % • รายได้ธุรกิจ ................บาท/........% • รายได้เฉพาะธุรกิจ ................บาท/........% • รายได้อื่น ...............บาท/........% • ค่าใช้จ่าย • ต้นทุนธุรกิจ ..............บาท/........% • ค่าใช้จ่ายเฉพาะธุรกิจ..............บาท/........% • ค่าใช้จ่ายดำเนินงาน ..............บาท/........% • อัตราค่าใช้จ่ายดำเนินงานต่อกำไร • ก่อนหักค่าใช้จ่ายดำเนินงาน.... % • รายได้ต่อสมาชิก ..บาท/คน • ค่าใช้จ่ายต่อสมาชิก .. บาท/คน • กำไรต่อสมาชิก .. บาท/คน • เงินออมต่อสมาชิก..บาท/คน • หนี้สินต่อสมาชิก ..บาท/คน • การเติบโตของกำไร ..% • การเติบโตของทุนสำรอง ..% • การเติบโตของทุนสะสมอื่น ..%
มิติที่ 5 L :สภาพคล่อง 13 สภาพคล่อง ทางการเงิน อัตราส่วนทุนหมุนเวียน ……..เท่า 16 ระยะเวลา 14 ร้อยละของสินทรัพย์ หมุนเวียน 15 ร้อยละของหนี้สิน หมุนเวียน อายุเฉลี่ยของสินค้า ..วัน • เงินสด ......% • เงินฝากธนาคาร/สหกรณ์ .......% • หลักทรัพย์/ตราสาร/หุ้น ........% • สินค้า .......% • สินทรัพย์หมุนเวียนอื่นๆ.......% • อัตราลูกหนี้ระยะสั้นที่ชำระหนี้ได้ตาม • กำหนดต่อหนี้ถึงกำหนดชำระ ...% • - เจ้าหนี้เงินกู้ระยะสั้น ......% • - เจ้าหนี้การค้า ......% • เงินรับฝา ......% • เงินค้างจ่ายและอื่นๆ......%
มิติที่ 6 S: ผลกระทบของธุรกิจ 17 ความเสี่ยง ผลกระทบของธุรกิจ • ปัจจัยเสี่ยง • ภาวะคู่แข่งทางธุรกิจ • อัตราดอกเบี้ย/ราคาสินค้า • นโยบายการเงินของรัฐ • นโยบายช่วยเหลือของภาครัฐ • ระเบียบ ข้อบังคับ พรบ.ที่เกี่ยวข้อง • สภาพตลาด/เทคโนโลยี/วิทยาการใหม่ๆ • ภัยธรรมชาติ • ฯลฯ
สหกรณ์.. สรุปภาพรวมผลการดำเนินงาน ปี 25... ความเพียงพอของเงินทุนต่อความเสี่ยง (Capital Strength) • ทุนภายใน.............…% • ทุนภายนอก……..…% คุณภาพของสินทรัพย์ (Asset Quality) • ลูกหนี้ผิดนัดค้างชำระ .....% ความสามารถในการบริหารจัดการ (Management Ability) • ธุรกิจรับฝากเงิน ……………% • ธุรกิจกู้ยืม ……………% • ธุรกิจจัดหาสินค้า……………% • ธุรกิจรวบรวมผลผลิต. …………% • ธุรกิจบริการ/อื่นๆ ……………% ธุรกิจกว่า.....................บาทต่อปี หรือ ......................บาทต่อเดือน สภาพคล่องทางการเงิน (Liquidity) • อัตราหมุนของสินทรัพย์ ...........รอบ • อัตราเงินทุนหมุนเวียน ........... เท่า • หนี้สินภายนอกต่อทุนสหกรณ์ ...... เท่า • ลูกหนี้ชำระหนี้ได้ตามกำหนด .........% ความสามารถในการทำกำไร (Earning Sufficiency) • สหกรณ์ดำเนินธุรกิจมีกำไร/ขาดทุน • รายได้เฉลี่ย .............. บาทต่อคน • ค่าใช้จ่ายเฉลี่ย.............บาทต่อคน
มาตรฐานการเงิน ปัจจุบัน อนาคต Peer Group Best practice Benchmark • ข้อปฏิบัติที่ดี • การบริหารจัดการ อย่างมีประสิทธิภาพ • การเปรียบเทียบตำแหน่ง • ตามปัจจัย (ประเภท ขนาด เวลา และสถานการณ์เดียวกัน) เพื่อปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพ • และแข่งขันได้ • การเปรียบเทียบ • เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
Peer Group : ตำแหน่งในการเทียบเคียงกับอัตราส่วนเฉลี่ย การบริหาร การเงิน ระดับสูงกว่าค่าเฉลี่ย ระดับเท่ากับค่าเฉลี่ย เพิ่มประสิทธิภาพของ องค์กร ระดับต่ำกว่าค่าเฉลี่ย
สัญญาณอัตราส่วน 3 ตัวจากCFSAWSเป็นส่วนหนึ่งในมิติCAMELS ทุนสำรองต่อ สินทรัพย์ทั้งสิ้น ลูกหนี้ที่ชำระได้ตาม กำหนดต่อลูกหนี้ถึงกำหนดชำระ 6 1 Sensitivity Capital Strength Liquidity Asset Quality 2 5 ค่าใช้จ่ายดำเนินงานต่อกำไรก่อนหักค่าใช้จ่ายดำเนินงาน Earning Sufficiency Management Ability 4 3
History Concept Analyze Result Report กรณีตัวอย่างวิเคราะห์ ผล CFSAWS ทุนสำรองต่อสินทรัพย์ทั้งสิ้น ค่าใช้จ่ายดำเนินงานต่อกำไร ก่อนหักค่าใช้จ่ายดำเนินงาน ลูกหนี้ระยะสั้นที่ชำระหนี้ได้ ตามกำหนดต่อลูกหนี้ถึงกำหนดชำระ
มิติที่ 1 ความเพียงพอของเงินทุนต่อความเสี่ยง/ความเข้มแข็งของเงินทุน CFSAWS(ค่า 0.10-0.20 เท่า) เงินทุนดำเนินงาน 7.91 ล้านบาท ผลตอบแทนต่อส่วนทุน 0 % แหล่งเงินทุน สัดส่วนหนี้สินทั้งสิ้นต่อทุน 6.32 เท่า • ภายในสหกรณ์ 1.94 ลบ 25 % • - เงินรับฝากสมาชิก 0.45 ลบ. 6 % • - ทุนของสหกรณ์ 1.08 ลบ. 14 % • - อื่น ๆ 0.41 ลบ. 5 % • ภายนอกสหกรณ์ 5.97 ลบ. 75 % • - เงินกู้ยืม/เครดิตการค้า 0.21 ลบ. 2 % • - เงินรับฝากสหกรณ์ 5.76 ลบ. 73 % • ทุนสำรองต่อสินทรัพย์ทั้งสิ้น 0.00 เท่า • หนี้สินทั้งสิ้น 6.83 ลบ. • ทุนของสหกรณ์ 1.08ลบ. ทุนของสหกรณ์ลดลง 54 % หนี้สินลดลง 0.7 %
มิติที่ 2 คุณภาพของสินทรัพย์ สินทรัพย์ 7.91ล้านบาท ผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ 0% การลงทุนในสินทรัพย์ อัตราหมุนของสินทรัพย์ 0.87 รอบ • เงินสด/เงินฝากธนาคาร/สก.0.63ลบ. 8 % • ลูกหนี้ 7.51 ลบ. 95 % (ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ) (1.93) ลบ. (24) % • ที่ดิน/อาคาร/อุปกรณ์ 0.19ลบ. 2 % • ดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมค้างรับ 1.19 ลบ. 15 % • หลักทรัพย์/ตราสาร 0.21ลบ. 3 % • สินทรัพย์อื่น 0.11 ลบ. 1% อัตราการค้างชำระหนี้ 91 % รายได้ธุรกิจหลัก 7.46 ล้านบาท สินทรัพย์ลดลง 14 %
มิติที่ 3 ขีดความสามารถในการบริหาร การบริหารจัดการ ขีดความสามารถ/ สมรรถนะของคณะ กรรมการและฝ่าย จัดการ โครงสร้างธุรกิจ • จำนวนสมาชิก 983 คน • ขนาด ใหญ่ • ธุรกิจสหกรณ์ • รับฝากเงิน 0.86 ลบ. 11 % • ให้กู้เงิน 0.30 ลบ. 4 % • จัดหาสินค้า 6.71 ลบ. 85 % • รวบรวมผลิตผล 0 ลบ. 0 % • ให้บริการ 0 ลบ. 0 % • มูลค่ารวม7.87ลบ./ปี • 0.65 ลบ./เดือน • ธุรกิจลดลง 50 % การบริหารงานและ การควบคุมภายใน • ชั้นคุณภาพการควบคุมภายใน • ระดับควรปรับปรุง
มิติที่ 4 การทำกำไร CFSAWS(ค่า 45.00-65.00%) ความสามารถในการทำกำไร อัตรากำไรสุทธิ 0 % ขาดทุน 1.28ล้านบาท อัตราเฉลี่ยต่อสมาชิก • รายได้ 7.75ลบ. 100 % • รายได้ธุรกิจ 7.64 ลบ. 99 % • รายได้อื่น 0.11 ลบ. 1 % • ค่าใช้จ่าย 9.03 ลบ. 116 % • ต้นทุนธุรกิจ 8.63 ลบ. 111 % • ค่าใช้จ่ายดำเนินงาน 0.40 ลบ. 5 % • อัตราค่าใช้จ่ายดำเนินงานต่อกำไร • ก่อนหักค่าใช้จ่ายดำเนินงาน>100% • รายได้ต่อสมาชิก 7,884 บาท/คน • ค่าใช้จ่ายต่อสมาชิก 9,186 บาท/คน • เงินออมต่อสมาชิก 3,766 บาท/คน • หนี้สินต่อสมาชิก 7,426บาท/คน ขาดทุนลดลง 14 %
CFSAWS(ค่า 60.00-90.00%) มิติที่ 5 สภาพคล่อง สภาพคล่อง ทางการเงิน อัตราส่วนทุนหมุนเวียน 0.99 เท่า ร้อยละของสินทรัพย์ หมุนเวียน (6.39 ลบ) อายุสินค้า เฉลี่ย 5 วัน ร้อยละของหนี้สิน หมุนเวียน (6.44 ลบ) • เงินสด 0.5 % • เงินฝากธนาคาร/สหกรณ์ 9 % • ลูกหนี้ระยะสั้น 71 % • ดอกเบี้ยเงินให้กู้ค้างรับ 19 % • สินค้าและหมุนเวียนอื่น 1 % ลูกหนี้ระยะสั้นชำระหนี้ได้ตาม กำหนด 9 % • เจ้าหนี้เงินกู้ระยะสั้น 3 % • เจ้าหนี้การค้า 0 % • - เงินรับฝาก 96 % • หนี้สินหมุนเวียนอื่น 0.3 %
สรุปภาพรวมผลการดำเนินงานสหกรณ์สรุปภาพรวมผลการดำเนินงานสหกรณ์ ตัวอย่าง 2. สก.......???............................ ขาดทุนสุทธิ 1.28 ล้านบาท ความเพียงพอของเงินทุนต่อความเสี่ยง (Capital Strength) • ทุนภายใน 25 % • ทุนภายนอก 75 % คุณภาพของสินทรัพย์ (Asset Quality) • ลูกหนี้สงสัยจะสูญ 24 % • ลูกหนี้ผิดนัดสัญญา 91 % ความสามารถในการบริหารจัดการ (Management Ability) • ธุรกิจรับฝากเงิน 11% • ธุรกิจกู้ยืม 4% • ธุรกิจจัดหาสินค้า 85% • ธุรกิจรวบรวมผลผลิต 0% • ธุรกิจบริการ/อื่นๆ 0% ธุรกิจกว่า 7 ล้านบาทต่อปี หรือกว่า 5 แสนบาทต่อเดือน สภาพคล่องทางการเงิน (Liquidity) • อัตราหมุนของสินทรัพย์ 0.87รอบ • อัตราเงินทุนหมุนเวียน 0.99 เท่า • หนี้สินภายนอกต่อทุนสหกรณ์ 6 เท่า • ลูกหนี้ชำระได้ตามกำหนด 9 % ความสามารถในการทำกำไร (Earning Sufficiency) • สหกรณ์ดำเนินธุรกิจมีผลขาดทุน (ค่าใช้จ่ายสูงกว่ารายได้ 1.16 เท่า) • รายได้เฉลี่ย 7,884 บาทต่อคน • ค่าใช้จ่ายเฉลี่ย 9,186 บาทต่อคน