900 likes | 1.17k Views
ภาควิชาบริหารธุรกิจ. การดำเนินงานโครงการพัฒนาภาคฯ/แผนก. โครงการจัดทำจุลสาร “ สยามสาร ”. ช่วงเวลาดำเนินการ : * ฉบับที่ 5 (พฤษภาคม – สิงหาคม 2546) * ฉบับที่ 6 (กันยายน – พฤศจิกายน 2546) จำนวนเล่มที่จัดทำ : ฉบับละ 2,000 เล่ม รวมทั้งสิ้น 4,000 เล่ม งบประมาณ :
E N D
การดำเนินงานโครงการพัฒนาภาคฯ/แผนกการดำเนินงานโครงการพัฒนาภาคฯ/แผนก
โครงการจัดทำจุลสาร “สยามสาร” • ช่วงเวลาดำเนินการ : * ฉบับที่ 5 (พฤษภาคม – สิงหาคม 2546) * ฉบับที่ 6 (กันยายน – พฤศจิกายน 2546) • จำนวนเล่มที่จัดทำ : ฉบับละ 2,000 เล่ม รวมทั้งสิ้น 4,000 เล่ม • งบประมาณ : อนุมัติ 100,000 บาท ใช้จริง 48,000 บาท (เป็นค่าจัดทำเล่มละ 12 บาท)
ผลการแข่งขันทักษะทางวิชาชีพภายนอก ครั้งที่ 18 งบประมาณที่ใช้ดำเนินการ : 12,266 บาท
เปรียบเทียบผลการแข่งขันทักษะภายนอก ครั้งที่ 17 และ 18
การดำเนินงานของภาควิชาบริหารธุรกิจการดำเนินงานของภาควิชาบริหารธุรกิจ • งานจัดตารางเรียนตารางสอน ประจำปีการศึกษา 2546 : เป็นไปตามที่ฝ่ายวิชาการกำหนด • งานนิเทศการสอน : ดำเนินการ่วมกับฝ่ายวิชาการและหัวหน้าแผนกที่สังกัดภาควิชาบริหารธุรกิจ • ผลการดำเนินงาน : อาจารย์ทุกท่านได้รับการนิเทศการสอน ยกเว้นอาจารย์ใหม่ที่เข้าสอนในภาคเรียนที่ 2/2546 จำนวน 5 ท่าน (บัญชี 1 ท่าน, การตลาด 2 ท่าน และธุรกิจสัมพันธ์ 2 ท่าน)
การฝึกประสบการณ์ทางวิชาชีพของนักเรียน-นักศึกษาภาควิชาบริหารธุรกิจ ภาคเรียนที่ 2/2546 • แบ่งออกเป็น 2 รุ่น รุ่นที่ 1 ระหว่างวันที่ 3 พ.ย.46 – 26 ธ.ค.46 จำนวน 280 คน รุ่นที่ 2 ระหว่างวันที่5 ม.ค.47 – 27 ก.พ.47 จำนวน 258 คน • งบประมาณที่ใช้ในการดำเนินงานทั้งสิ้น : 25,445 บาท รุ่นที่ 1 จำนวนเงิน 11,850 บาท รุ่นที่ 2 จำนวนเงิน 12,750 บาท
จำนวนนักเรียน-นักศึกษาภาควิชาบริหารธุรกิจ ที่ฝึกประสบการณ์ทางวิชาชีพ ในภาค 2/2546
จำนวนหน่วยงานที่นร.-นศ.ฝึกประสบการณ์จำนวนหน่วยงานที่นร.-นศ.ฝึกประสบการณ์ หมายเหตุ : 1. รุ่นที่ 2 มีนร.สนใจดำเนินการ SME : 2 กลุ่ม จำนวน 11 คน 2. หน่วยงานในโรงเรียนทั้งรุ่น 1 และ 2 เป็นหน่วยงานเดียวกัน 16 แห่ง
จำนวนนักเรียน-นักศึกษาที่ฝึกฯ ภายในโรงเรียน จำแนกตามสาขาวิชา
ประเภทงานที่นักเรียน-นักศึกษาฝึกปฏิบัติภายนอกประเภทงานที่นักเรียน-นักศึกษาฝึกปฏิบัติภายนอก
ผลการประเมินการฝึกประสบการณ์ทางวิชาชีพของนักเรียน-นักศึกษาภาควิชาบริหารธุรกิจ ปีการศึกษา 2546 (ทนส.03)
ประเมินผลการฝึกประสบการณ์ทางวิชาชีพประเมินผลการฝึกประสบการณ์ทางวิชาชีพ
การประเมินผลความพึงพอใจในการจัดฝึกประสบการณ์ทางวิชาชีพของโรงเรียน และของนักเรียน-นักศึกษาภาควิชาบริหารธุรกิจ ประจำปีการศึกษา 2546 (โดยสถานประกอบการ)
ความพึงพอใจของสถานประกอบการต่อการจัดฝึกประสบการณ์ฯของโรงเรียน (เฉพาะภาคฯบริหารฯ)
จัดอันดับความพึงพอใจด้านความรู้ของนร.-นศ.จัดอันดับความพึงพอใจด้านความรู้ของนร.-นศ. • 1. ความรู้ในการใช้ภาษาไทย ทั้งการพูด ฟัง อ่าน และเขียน (ค่าเฉลี่ย = 4.22 : มาก) • 2. ความรู้ความเข้าใจในงานที่ปฏิบัติและงานที่เกี่ยวข้อง (ค่าเฉลี่ย = 4.16 : มาก) • 3. ความรู้ในการใช้คอมพิวเตอร์เบื้องต้น (ค่าเฉลี่ย = 4.15 : มาก) • สุดท้าย ความรู้ในการใช้ภาษาอังกฤษเบื้องต้น (ค่าเฉลี่ย = 3.60 : มาก)
จัดอันดับความพึงพอใจด้านทักษะของนร.-นศ.จัดอันดับความพึงพอใจด้านทักษะของนร.-นศ. • 1. การใช้เครื่องมือและอุปกรณ์อย่างมีประสิทธิภาพ (ค่าเฉลี่ย = 4.32 : มาก) • 2. การบำรุงรักษาเครื่องมือและอุปกรณ์ได้อย่างถูกต้องตามหลักวิธี (ค่าเฉลี่ย = 4.23 : มาก) • 3. การใช้ทักษะคอมพิวเตอร์เพื่อการปฏิบัติงานเบื้องต้นได้ (ค่าเฉลี่ย = 4.17 : มาก) • สุดท้าย การวิเคราะห์ปัญหาและแก้ไขปัญหาได้เป็นอย่างดี (ค่าเฉลี่ย = 3.89 : มาก)
จัดอันดับความพึงพอใจด้านกิจนิสัยของนร.-นศ.จัดอันดับความพึงพอใจด้านกิจนิสัยของนร.-นศ. • 1. ความมีมนุษยสัมพันธ์กับผู้อื่น (ค่าเฉลี่ย = 4.57 : มากที่สุด) • 2. ความซื่อสัตย์ต่อตนเองและหน่วยงาน (ค่าเฉลี่ย = 4.52 : มากที่สุด) • 3. การยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและทำงานเป็นทีม (ค่าเฉลี่ย = 4.47 : มาก) • สุดท้าย ความมีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและหน่วยงาน (ค่าเฉลี่ย = 4.44 : มาก)
จัดอันดับความพึงพอใจด้านการจัดการของโรงเรียนจัดอันดับความพึงพอใจด้านการจัดการของโรงเรียน • 1. การจัดทำสมุดบันทึกการฝึกงานของนักเรียน-นักศึกษา (ค่าเฉลี่ย = 4.21 : มาก) • 2. การติดต่อขอความอนุเคราะห์สถานที่ฝึกงาน (ค่าเฉลี่ย = 4.12 : มาก) • 3. การตรวจเยี่ยมนิเทศนักเรียน-นักศึกษาฝึกงาน ณ สถานที่ฝึกงาน (ค่าเฉลี่ย = 4.05 : มาก) สุดท้าย การแก้ปัญหานักเรียนนักศึกษาฝึกงาน (ค่าเฉลี่ย = 3.92 : มาก)
ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของสถานประกอบการความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของสถานประกอบการ • 1. ด้านความรู้ของนักเรียน-นักศึกษา - นร.-นศ.ควรหาความรู้และประสบการณ์ให้มาก ๆ จากการฝึกงาน - นร.-นศ.ควรหาโอกาสเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมทางคอมพิวเตอร์ เพื่อโอกาสอันดีในอนาคต - นร.-นศ.ขยัน เรียนรู้งานเร็ว สนใจใฝ่รู้ ปฏิบัติงานได้เป็นระบบ รวมทั้งมีความรู้ทางคอมพิวเตอร์ ความรู้ทางด้านวิชาชีพ การคำนวณ ฯลฯ ดีมาก
ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของสถานประกอบการความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของสถานประกอบการ • 2. ด้านทักษะของนักเรียน-นักศึกษา - นร.-นศ.มีความสามารถในการใช้คอมพิวเตอร์ เครื่องมือ-อุปกรณ์สำนักงานได้ดีมาก แต่บางคนควรฝึกทักษะคอมพิวเตอร์ให้มาก ๆ เพื่อการนำมาใช้ในการทำงาน - นร.-นศ.มีความสามารถทำงานในระบบคอมพิวเตอร์ (โปรแกรมของบริษัท) ได้เร็ว และเข้าใจระบบงานดี - นร.-นศ.ควรได้ศึกษาการใช้เครื่องมือ-อุปกรณ์ที่ทันสมัยเพื่อให้เกิดความชำนาญและความคล่องตัวมากขึ้น - นร.-นศ.ควรได้ศึกษาการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ การบำรุงรักษาและเครื่องใช้สำนักงานมาจากโรงเรียน
ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของสถานประกอบการความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของสถานประกอบการ • 3. ด้านกิจนิสัยของนักเรียน-นักศึกษา - นร.-นศ.มีความขยัน อดทน กระตือรือร้น และตั้งใจปฏิบัติงานที่ผู้ควบคุมงานมอบหมายให้ดีมาก - นร.-นศ.มีมนุษยสัมพันธ์ต่อผู้ร่วมงานดี - นร.-นศ.มีอุปนิสัยเรียบร้อย ร่าเริง แต่บางคนพูดน้อยเกินไป - นร.-นศ.บางคนไม่ควรลางานบ่อย และควรมาให้ตรงเวลา - นศ.ควรได้รับการอบรมมารยาทในการใช้คำพูดบ้าง - นศ.ควรปรับปรุงบุคลิกภาพให้มีความคล่องตัว ว่องไว และกล้าแสดงออก
ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของสถานประกอบการความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของสถานประกอบการ • 3. ด้านการจัดการของโรงเรียน - โรงเรียนมีการจัดเตรียมเอกสารให้บริษัทได้เป็นอย่างดี เข้าใจง่าย - การจัดการดี มีการตรวจเยี่ยม (นิเทศ) นร.-นศ.ณ สถานที่ฝึกงานดีมาก ช่วยแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้ - โรงเรียนมีการดูแลเอาใจใส่ในการฝึกงานของ นร.-นศ.ดี มีการประสานงานล่วงหน้า - ควรนำนร.-นศ.ไปศึกษาดูงานในสถานประกอบการใหม่ ๆ เพื่อเพิ่มพูนประสบการณ์ - ระยะเวลาการฝึกงานน้อยเกินไป ควรเพิ่มเป็น 3 เดือน (โรงแรม) - หากเป็นไปได้การฝึกงานควรเป็นวิชาสุดท้ายของการเรียน
สรุปความคิดเห็นของนักเรียน-นักศึกษาหลังจากการฝึกประสบการณ์ทางวิชาชีพสรุปความคิดเห็นของนักเรียน-นักศึกษาหลังจากการฝึกประสบการณ์ทางวิชาชีพ (รุ่น 1 และ รุ่น 2)
ความคิดเห็นของนร.-นศ.หลังจากการฝึกประสบการณ์ทางวิชาชีพความคิดเห็นของนร.-นศ.หลังจากการฝึกประสบการณ์ทางวิชาชีพ
สรุปความคิดเห็นของอาจารย์ผู้สอนภาควิชาบริหารธุรกิจสรุปความคิดเห็นของอาจารย์ผู้สอนภาควิชาบริหารธุรกิจ
สรุปจำนวนนร.-นศ.ลาพัก ลาออก จำหน่าย ปีการศึกษา 2546
เปรียบเทียบจำนวนนร.-นศ.ที่ลาพัก ลาออก จำหน่าย ปีการศึกษา 2545 และ 2546
การดำเนินงานโครงการพัฒนาที่ภาคฯรับผิดชอบการดำเนินงานโครงการพัฒนาที่ภาคฯรับผิดชอบ
โครงการสยามโพลล์ โรงเรียนเทคโนโลยีสยาม • เวลาดำเนินการ : ตลอดปีการศึกษา 2546 • ดำเนินการแล้ว : 4 เรื่อง คือ ภายนอก 2 เรื่อง ภายใน 2 เรื่อง - ภายนอก : สำรวจเสียงสะท้อนของเยาวชนต่อสภาพสังคมไทยภายใต้การนำของรัฐบาลนายกรัฐมนตรี : 1. พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เดือนมิ.ย.46 2. คุณแม่ในอุดมคติของเยาวชนไทยในยุคปัจจุบัน เดือนส.ค.46 - ภายใน : สำรวจการเข้าสอบชิงทุนการศึกษา และการเข้าร่วมวันนัดพบแรงงาน เดือน ก.พ.47 • งบประมาณ : อนุมัติ 100,000 บาท ใช้จริง 6,000 บาท
โครงการวิจัย • ดำเนินการ 3 เรื่อง 1. ศึกษาสภาพการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญของภาควิชาบริหารธุรกิจ : ดำเนินการแล้วในภาคเรียนที่ 1/2546 2. ศึกษาการจัดการจัดกระบวนการเรียนรู้ของอาจารย์ผู้สอนในโรงเรียนเทคโนโลยีสยาม ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 : ดำเนินการในภาคเรียนที่ 2/2546 3.ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา ปวส.2 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ โรงเรียนเทคโนโลยีสยาม : ดำเนินการในภาคเรียนที่ 2/2546 งบประมาณ ทั้ง 3 เรื่องได้ใช้จ่ายโดยเป็นค่าเอกสาร
ผลงานวิจัยสถาบัน เรื่อง “ศึกษาการจัดกระบวนการเรียนรู้ของอาจารย์ผู้สอนในโรงเรียนเทคโนโลยีสยาม ตามแนวพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542”
วัตถุประสงค์ของการวิจัยวัตถุประสงค์ของการวิจัย • 1. เพื่อศึกษาการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ของอาจารย์ ผู้สอนในโรงเรียนเทคโนโลยีสยาม • 2. เพื่อเปรียบเทียบการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ของอาจารย์ผู้สอนในโรงเรียนเทคโนโลยีสยาม จำแนกตามภาควิชา
สมมติฐานการวิจัย • อาจารย์ผู้สอนในโรงเรียนเทคโนโลยีสยามที่สังกัดภาควิชาต่างกัน มีการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แตกต่างกัน
กรอบแนวความคิดที่ใช้ในการวิจัยกรอบแนวความคิดที่ใช้ในการวิจัย การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยใช้กรอบแนวความคิด คือ • แนวการจัดการศึกษา กระบวนการเรียนรู้ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 หมวด 4 มาตรา 24 และ 26 • แนวการปฏิบัติการสอน การพัฒนาตนเอง และความพร้อมของครูผู้สอนตามแนวทางการปฏิรูปการเรียนรู้ของครูผู้สอน (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ)
ขอบเขตของการวิจัยในครั้งนี้ขอบเขตของการวิจัยในครั้งนี้ • 1. ข้อมูลตนเองด้านการสอน • 2. การจัดเนื้อหาสาระการเรียนรู้ • 3. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ • 4. การจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ • 5. การจัดสื่อเพื่อการเรียนรู้ • 6. การประเมินผลการเรียนรู้
ประชากรและกลุ่มตัวอย่างประชากรและกลุ่มตัวอย่าง • ประชากรที่จะศึกษา: อาจารย์ที่ปฏิบัติการสอนในโรงเรียนเทคโนโลยีสยาม ปีการศึกษา 2546 ทุกท่าน จำนวน 201 คน • กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้: อาจารย์ที่ปฏิบัติการสอนในโรงเรียนเทคโนโลยีสยาม ปีการศึกษา 2546 ทุกท่าน จำนวน 201 คน
ตัวแปรที่จะศึกษา • ตัวแปรอิสระ: ข้อมูลทั่วไปและสถานภาพของผู้สอบแบบสอบถาม • ตัวแปรตาม: การจัดกระบวนการเรียนรู้ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ของอาจารย์ผู้สอนในโรงเรียนเทคโนโลยีสยาม 6 ประเด็น คือ 1. ข้อมูลตนเองด้านการสอน 2. การจัดเนื้อหาสาระของหลักสูตร 3. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 4. การจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ 5. การจัดสื่อเพื่อการเรียนรู้ 6. การประเมินผลการเรียนรู้
สรุปผลการวิจัยครั้งนี้สรุปผลการวิจัยครั้งนี้
จำนวนแบบสอบถามที่ส่งและได้รับคืนมาจำนวนแบบสอบถามที่ส่งและได้รับคืนมา
ผลการจัดกระบวนการเรียนรู้ของอาจารย์ผู้สอนผลการจัดกระบวนการเรียนรู้ของอาจารย์ผู้สอน
จัดอันดับเกี่ยวกับตนเองด้านการสอนจัดอันดับเกี่ยวกับตนเองด้านการสอน • 1. มีความรับผิดชอบและตรงต่อเวลา (ค่าเฉลี่ย = 4.40) • 2. ประพฤติและปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีตามกรอบศีลธรรมและวัฒนธรรมไทย ค่าเฉลี่ย = 4.33) และ ยอมรับความคิดเห็นและความสามารถของผู้อื่น สามารถทำงานร่วม กับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข (ค่าเฉลี่ย = 4.33) 3. มีความเชื่อว่าผู้เรียนทุกคนมีศักยภาพ สามารถพัฒนาตนเองได้โดยวิธีการเรียนรู้ที่แตกต่างกัน (ค่าเฉลี่ย = 4.24) สุดท้าย รวบรวม วิเคราะห์ และสังเคราะห์ข้อมูลผู้เรียนบันทึกไว้เป็นหลักฐานเพื่อวางแผนปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ (วิจัยในชั้นเรียน) (ค่าเฉลี่ย = 3.71)
จัดอันดับการจัดเนื้อหาสาระของหลักสูตรจัดอันดับการจัดเนื้อหาสาระของหลักสูตร • 1. จัดเนื้อหาให้ผู้เรียนได้ฝึกประสบการณ์ตรงตามสาขาวิชาที่เรียน (ค่าเฉลี่ย = 4.13) • 2. จัดเนื้อหาวิชาสอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของหลักสูตร (ค่าเฉลี่ย = 4.08) • 3. จัดเนื้อหาวิชาเพื่อเป็นพื้นฐานสำหรับผู้เรียนที่จะศึกษาต่อในระดับสูงต่อไป (ค่าเฉลี่ย = 4.01) สุดท้าย จัดทำแผนการเรียนการสอนโดยมีการวิเคราะห์หลักสูตร วิเคราะห์ผู้เรียน ปรับเนื้อหาให้เชื่อมโยงกับชีวิตจริง (ค่าเฉลี่ย = 3.85)
จัดอันดับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้จัดอันดับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ • 1. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้านวิชาชีพปลูกฝังจิตสำนึกที่ดีในการทำงาน (ค่าเฉลี่ย = 4.16) • 2. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนทุกรายวิชาโดยได้มีการปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ดี และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เช่น ความเมตตากรุณา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ (ค่าเฉลี่ย = 4.10) และ ฝึกให้ผู้เรียนทำงานอย่างเป็นระบบ ทั้งแบบทำคนเดียวและทำเป็นกลุ่ม (ค่าเฉลี่ย = 4.10) • 3. จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมให้เกิดขึ้นกับตัวผู้เรียน (ค่าเฉลี่ย = 4.06) • สุดท้าย จัดกิจกรรมนอกห้องเรียนเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และได้ประสบการณ์เพิ่มเติม (ค่าเฉลี่ย = 3.27 : ปานกลาง)
จัดอันดับการจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อมจัดอันดับการจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อม • 1. เสริมสร้างบรรยากาศการเรียนรู้โดยการให้รางวัล ชมเชย สำหรับผู้เรียนที่ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี ( ค่าเฉลี่ย = 3.68) • 2. จัดสภาพแวดล้อม บรรยากาศรวมทั้งสิ่งอำนวยความสะดวกภายในโรงเรียนเพื่อให้ผู้เรียนมีความรอบรู้และเกิดการเรียนรู้ (ค่าเฉลี่ย = 3.66) • 3. จัดสภาพแวดล้อมภายในห้องเรียน/ห้องปฏิบัติการให้เอื้อต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนและฝึกทักษะของผู้เรียน (ค่าเฉลี่ย = 3.59) สุดท้ายเชิญวิทยากร ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้เชี่ยวชาญมาให้ความรู้แก่ผู้เรียน (ค่าเฉลี่ย = 2.46 : น้อย)
จัดอันดับการจัดสื่อเพื่อการเรียนรู้จัดอันดับการจัดสื่อเพื่อการเรียนรู้ • 1. ใช้สื่อ-อุปกรณ์เพื่อจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเน้นให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติจริง ( ค่าเฉลี่ย = 3.91) • 2. จัดสื่อการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงประสบการณ์ตรงกับสาขาวิชาของผู้เรียน (ค่าเฉลี่ย = 3.80) • 3. จัดสื่อการเรียนรู้ได้เหมาะสมแก่การเรียนรู้และเพียงพอกับจำนวนผู้เรียน (ค่าเฉลี่ย = 3.72) สุดท้ายนำสื่อการเรียนรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ประกอบการสอน (ค่าเฉลี่ย = 3.22 : ปานกลาง)
จัดอันดับการประเมินผลการเรียนรู้จัดอันดับการประเมินผลการเรียนรู้ • 1. ดำเนินการประเมินผลควบคู่ไปในระหว่างการเรียนการสอน ( ค่าเฉลี่ย = 3.95) • 2. ประเมินผู้เรียนเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่มด้วยวิธีการที่หลากหลายและเน้นการประเมินผลตามสภาพจริง นอกเหนือจากการทดสอบ (ค่าเฉลี่ย = 3.90) • 3. ประเมินความสามารถของผู้เรียนทางด้านทักษะ กระบวนการคิด การใช้เหตุผล (ค่าเฉลี่ย = 3.89) สุดท้ายประสานความร่วมมือกับบิดามารดา ผู้ปกครองและชุมชนในการประเมินผล เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เต็มศักยภาพ (ค่าเฉลี่ย = 3.27 : ปานกลาง)
สรุปผลการเปรียบเทียบ การจัดกระบวนการเรียนรู้ของอาจารย์ผู้สอน จำแนกตามภาควิชา
เปรียบเทียบแต่ละภาควิชาโดยภาพรวมในแต่ละประเด็นเปรียบเทียบแต่ละภาควิชาโดยภาพรวมในแต่ละประเด็น
เปรียบเทียบการจัดเนื้อหาสาระของหลักสูตรเปรียบเทียบการจัดเนื้อหาสาระของหลักสูตร