1 / 25

Material Handling

Material Handling. การขนถ่ายวัสดุ (Material Handling) หมายถึง การจัดเตรียมสถานที่และตำแหน่งของวัสดุเพื่ออำนวยความสะดวกในการเคลื่อนย้ายและเก็บรักษา และการจัดอุปกรณ์และวิธีการที่เหมาะสมในการทำงาน. องค์ประกอบที่สำคัญ มี 4 อย่าง คือ การเคลื่อนที่ (Motion)

Download Presentation

Material Handling

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Material Handling

  2. การขนถ่ายวัสดุ (Material Handling) หมายถึง การจัดเตรียมสถานที่และตำแหน่งของวัสดุเพื่ออำนวยความสะดวกในการเคลื่อนย้ายและเก็บรักษา และการจัดอุปกรณ์และวิธีการที่เหมาะสมในการทำงาน

  3. องค์ประกอบที่สำคัญมี 4 อย่าง คือ • การเคลื่อนที่ (Motion) การเคลื่อนย้ายวัสดุจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง • เวลา (Time) เป็นปัจจัยหนึ่งที่บ่งบอกถึงประสิทธิภาพของ การเคลื่อนที่

  4. ปริมาณ (Quantity) ปริมาณวัสดุที่ต้องเคลื่อนที่ ต้องสัมพันธ์กับความ ต้องการ เลา และเหมาะสมกับค่าใช้จ่าย • เนื้อที่ (Space) พื้นที่ในการเคลื่อนที่ของอุปกรณ์ กลไกในระบบขนถ่าย พื้นที่สำหรับวางวัสดุที่รอการขนถ่ายและหลังการขนถ่าย

  5. ขอบเขตการขนถ่าย 1. สถานที่ทำงาน (Work Place) 2. สายงานผลิต (Line) การขนถ่ายในลักษณะต่อเนื่อง 3. การขนถ่ายระหว่างแผนก (Inter department)

  6. 4. การขนถ่ายภายในโรงงาน (Intra-Plant) 5. การขนถ่ายระหว่างโรงงาน (Inter-Plant) 6. การขนถ่ายระหว่างบริษัท (Inter-Company)

  7. จุดมุ่งหมาย และประโยชน์ของการขนถ่ายวัสดุ 1. การลดต้นทุน • ลดค่าใช้จ่ายในเรื่องของอุปกรณ์ที่ใช้ในการถ่ายวัสดุ • ลดต้นทุนที่จะส่งเสริมให้ระบบการผลิตใช้เวลาผลิตน้อยที่สุด • ใช้อุปกรณ์แทนแรงงาน • ใช้แรงงานควบคุมอุปกรณ์ • ลดความสูญเสีย • ลดเวลาในการตรวจสอบปริมาณ เป็นต้น

  8. 2. การเพิ่มขีดความสามารถในการทำงาน - สามารถใช้เนื้อที่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด - ปรับปรุงผังโรงงานเพื่อลดระยะทาง - ลดเวลาในการเอาของขึ้น-ลง 3. การปรับปรุงสภาพแวดล้อมการทำงาน - ปรับปรุงด้านความปลอดภัย - เลือกคนงานให้เหมาะกับสภาพงาน เช่น สภาพงานเบา - สภาพแวดล้อมส่งเสริมให้ทำงานง่าย 4. การปรัปปรุงเพื่อส่งเสริมการขาย - การให้บริการที่รวดเร็ว - ลดค่าใช้จ่ายในการขนส่ง

  9. กิจกรรมการขนถ่ายวัสดุกิจกรรมการขนถ่ายวัสดุ • วิธีการขนถ่ายวัสดุ • วิธีการเก็บวัสดุ –สินค้า ในคลัง • เทคนิคการนำของขึ้น – ลง จากเครื่องกลขนถ่าย • วิธีการบรรจุหีบห่อเพื่อส่งไปยังลูกค้า • วิธีการบรรจุหีบห่อเพื่อการขนส่งและป้องกันสินค้า • การเลือกอุปกรณ์ในการขนถ่าย • การเลือกภาชนะที่ใช้สำหรับการขนถ่าย • ความปลอดภัยในการขนถ่าย

  10. Material Handling System Equation

  11. ระบบการขนถ่ายลำเลียงวัสดุระบบการขนถ่ายลำเลียงวัสดุ • จำแนกตามประเภทเครื่องมือขนถ่ายลำเลียง • จำแนกตามประเภทของวัสดุที่ขนถ่าย • จำแนกตามวิธีที่ขนถ่ายลำเลียง • จำแนกตามหน้าที่การขนถ่ายลำเลียง

  12. ระบบการขนถ่ายลำเลียง แบ่งเป็น 2 ระบบใหญ่ๆ คือ 1. ระบบทางตรง (Direct system) เป็นการเคลื่อนย้ายวัสดุ โดยไม่ผ่านหน่วยงานอื่น เหมาะกับ เส้นทางที่มีความหนาแน่นการไหลมาก ระยะทางสั้นที่สุดจะช่วยให้ลด ต้นทุนและลดเวลา

  13. ระบบทางอ้อม (Indirect System) เป็นระบบที่จะต้องผ่านหน่วยงานอื่นๆก่อน แบ่งเป็น Kanal System กับ Central System เหมาะสมกับ ความหนาแน่นในการไหลต่ำ และ มีระยะทางในการลำเลียงปานกลางจนยาว

  14. ประเภทของอุปกรณ์สำหรับการขนถ่ายวัสดุประเภทของอุปกรณ์สำหรับการขนถ่ายวัสดุ 1. แบ่งตามชนิดของอุปกรณ์ - เครื่องลำเลียง - เครน ลิฟท์ และ เครื่องยก - เครื่องกำหนดตำแหน่ง เครื่องกำหนดน้ำหนัก และอุปกรณ์ ควบคุม - ยวดยานในโรงงานอุตสาหกรรม - รถยนต์รถบรรทุก - รถไฟ - เรือ - เครื่องบิน - คอนเทนเนอร์ และตัวรองรับ

  15. 2. แบ่งตามระบบการทำงานของอุปกรณ์ - ใช้หลักการเข็น (Walking Industrial Vehicles) เช่น Hand Truck Pallet Jack เป็นต้น • ระบบการขนส่ง (Transportation System) ลักษณะการเคลื่อนที่ จะอาศัยตัวขับหรือไม่ก็ได้แบ่งเป็นกลุ่มย่อยๆ คือ Hand truck Wheel barrow Platform truck Pallet jack

  16. -ใช้หลักการขับ (Riding Industrial Vehicles)โดยมีระบบขับเคลื่อน Burden carrier Powered hand truck Pallet truck Forklift truck

  17. -ใช้หลักขับเคลื่อนอัตโนมัติ (Automated Industrial Vehicles) เช่น Automatic Guided Vehicles (AGV) Automatic Electrical Monorails (AEM) Automatic guided vehicle Automatic electrical monorail

  18. ระบบการยกขึ้น-ลง (Elevating)เป็นระบบที่มีกลไกในการยกวัสดุ • ขึ้น-ลง ตามแนวดิ่ง หรือ แนวเอียง ลักษณะการเคลื่อนที่จะเป็นแบบต่อเนื่อง หรือ ไม่ต่อเนื่อง เช่นลิฟท์รอก Factory elevator or lift Hoist

  19. ระบบการลำเลียง (Conveying) อาจใช้พลังขับเครื่อน หรือ แรงโน้มถ่วง เช่น สายพานลำเลียง Belt conveyor Chute conveyor Roller conveyor Gravity conveyor Chain conveyor

  20. ระบบการโยกย้าย (Tranfering) ทำหน้าที่ยกวัสดุขึ้นและเคลื่อนที่ในอากาศแล้ววาง ลง เส้นทางการเคลื่อนที่ในบริเวณจำกัด เคลือนที่ไม่ ต่อเนื่อง เช่น ปั้นจั่น เครน Gantry crane Bridge Crane

  21. Jib crane Tower crane • ระบบการยกขนด้วยตนเอง (Self Loading) เช่น รถ • ยกประเภทต่างๆ

  22. 3. แบ่งตามลักษณะการเคลื่อนที่ของอุปกรณ์ • การเคลื่อนที่แบบต่อเนื่อง (Continuous Movement) เช่น กระดานลื่น เครื่องลำเลียง • การเคลื่อนที่แบบไม่ต่อเนื่อง (Discontinuous Movement) เช่น ลิฟท์ • การเคลื่อนที่แบบพลังต่างศักดิ์ (Potential Movement) วัสดุเคลื่อนที่อาศัยพลังต่างศักดิ เช่น ไซโล ถัง

  23. แนวความคิดเกี่ยวกับหน่วยรวมวัสดุ (Unit Load) หน่วยรวมวัสดุ หมายถึง จำนวนของรายการต่างๆ วัสดุที่เป็นกอง ที่นำมาจัดหรือผูกรวมกันเป็นกลุ่มง่ายต่อการยกขึ้นลง และ การเคลื่อนย้ายเป็นหน่วยเดียว ข้อดี • ลดการขนถ่ายครั้งละมากๆ • งานขนถ่ายทำได้รวดเร็วขึ้น • ลดปัญหาการสูญหายและเสียหายของวัสดุ • ใช้เนื้อที่ประโยชน์สูงสุด ข้อเสีย • ต้นทุนเพิ่มขึ้น • ต้องเลือกใช้อุปกรณ์ในการขนถ่ายให้เหมาะสม • ใช้พื้นที่มากขึ้น • ต้องเสียพลังงานเพิ่มขึ้นในการขนถ่าย (เนื่องจากมีน้ำหนักหน่วยขนถ่ายเพิ่มขึ้น)

  24. ชนิดของหน่วยรวมวัสดุ 1.รวมวัสดุเป็นหน่วยบนพื้น 2. การวางวัสดุบนแผ่น 3. การวางของบนชั้น 4. การรวมวัสดุในคอนเทนเนอร์ (Container) 5. การใช้ตัววัสดุเองรวมเป็นหน่วย เช่น การม้วน วิธีการเคลื่อนย้ายหน่วยรวมวัสดุ • ใช้เครื่องมือสอดยกใต้วัสดุ • ใช้เครื่องมือสอดยกในวัสดุ • บีบวัสดุอยู่ระหว่างเครื่องมือยก • แขวนวัสดุในการยก

  25. เอกสารอ้างอิง 1. สมศักดิ์ ศรีสัตย์. การออกแบบและวางผังโรงงาน. พิมพ์ครั้งที่ 10. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น). 2542. 2. พจมาน เตียวัฒนรัฐติกาล. การบริหารและจัดการองค์กรอุตสาหกรรม. พิมพ์ครั้งที่ 2. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น). 2544

More Related