320 likes | 435 Views
“การยกระดับภาคอุตสาหกรรมไทยในยุคโลกาภิวัฒน์”. มังกร ธนสารศิลป์ รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 22 กรกฎาคม 2552 ณ หอประชุมศรีบูรพา (หอประชุมเล็ก) ม.ธรรมศาสตร์. ประเด็นการนำเสนอ. ปัจจัยขับเคลื่อนเศรษฐกิจในอดีต แนวทางการยกระดับภาคอุตสาหกรรมไทยในยุคโลกาภิวัฒน์
E N D
“การยกระดับภาคอุตสาหกรรมไทยในยุคโลกาภิวัฒน์”“การยกระดับภาคอุตสาหกรรมไทยในยุคโลกาภิวัฒน์” มังกร ธนสารศิลป์ รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 22 กรกฎาคม 2552 ณ หอประชุมศรีบูรพา (หอประชุมเล็ก) ม.ธรรมศาสตร์
ประเด็นการนำเสนอ • ปัจจัยขับเคลื่อนเศรษฐกิจในอดีต • แนวทางการยกระดับภาคอุตสาหกรรมไทยในยุคโลกาภิวัฒน์ • ทิศทางการฟื้นตัวของภาคเศรษฐกิจอุตสาหกรรม • บทสรุป
ปัจจัยขับเคลื่อนเศรษฐกิจปัจจัยขับเคลื่อนเศรษฐกิจ Innovation-driven economy หลังวิกฤติ เศรษฐกิจ Growth=6.9% ก่อนวิกฤติ เศรษฐกิจและ ช่วงย้ายฐาน การผลิต Growth=11.1% ? Export-driven Economy หลังมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ Growth = 9.1% Investment-driven Economy ก่อนมีแผน พัฒนาเศรษฐกิจฯ Growth = 6.8% Factor-driven Economy หมายเหตุ: อัตราการขยายตัวเป็นอัตราการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม ที่มา: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ปัจจัยที่เอื้อให้เกิด Investment & Export driven economy Export-driven Economy ส่วนการลอยตัวค่าเงินบาทปี 2540 ทำให้การส่งออกของไทยขยายตัวดีขึ้น Investment-driven Economy การแข็งค่าของเงินเยนทำให้ญี่ปุ่นมีการย้ายฐานการผลิตมายังไทย Source: BOT , BOJ
สินค้าอุตสาหกรรมเป็นสินค้าส่งออกที่สำคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศสินค้าอุตสาหกรรมเป็นสินค้าส่งออกที่สำคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศ Export-driven economy ที่มา: กระทรวงพาณิชย์ นับจากปี 2540 เป็นต้นมาการส่งออกได้กลายเป็นปัจจัยในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจที่สำคัญ โดยเฉพาะการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรม
สรุปอุตสาหกรรมไทยเติบโตได้อย่างใด ? • การขับเคลื่อเศรษฐกิจไทยในช่วงแรก ประเทศไทยได้อาศัยความได้เปรียบด้านปัจจัยการผลิตราคาถูก ไม่ว่าจะเป็นราคาวัตถุดิบหรือค่าจ้างแรงงาน ปัจจุบันความได้เปรียบได้นี้ของไทยได้ลดลงเป็นอันมาก • การขับเคลื่อนเศรษฐกิจในทศวรรษที่ 2530 ประเทศไทยขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยการลงทุนทางตรงจากต่างประเทศ โดยอาศัยประโยชน์จากค่าเงินเยนแข็งค่า • การขับเคลื่อนเศรษฐกิจในทศวรรษที่ 2540 ประเทศไทยขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยการส่งออก โดยอาศัยประโยชน์จากค่าเงินบาทอ่อนค่า นอกจากนี้การเติบโตยังต้องอาศัยอีก 3 ปัจจัยสนับสนุน เริ่มจาก (1) การจัดตั้ง BOI (2) การจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และ(3) โชคช่วยจากค่าเงินเยนแข็งค่าและค่าเงินบาทอ่อนค่า
ประเด็นการนำเสนอ • ปัจจัยขับเคลื่อนเศรษฐกิจในอดีต • แนวทางการยกระดับภาคอุตสาหกรรมไทยในยุคโลกาภิวัฒน์ • ทิศทางการฟื้นตัวของภาคเศรษฐกิจอุตสาหกรรม • บทสรุป
ภาพรวมขีดความสามารถในการแข่งขัน…ยังต้องแก้อีกหลายด้านภาพรวมขีดความสามารถในการแข่งขัน…ยังต้องแก้อีกหลายด้าน Competitiveness Landscape, IMD 2009 ต้องรีบแก้ไข พัฒนา SME มีปัญหาเช่นกัน Innovation Process Innovation Product ต้องเร่งแก้ด้านการเมือง.
2493 2503 2513 2523 2533 2543 2553 2563 การยกระดับ:ต้องเข้าใจในกระแสโลกาภิวัฒน์ การปรับตัวเองเพื่อสร้าง ความได้เปรียบ อัตราการเติบโต การได้เปรียบใน การแข่งขัน การเข้าใจในกระแส โลกาภิวัฒน์ ความได้เปรียบใน เชิงเปรียบเทียบ ความเข้าใจในการด้านการตลาด กรพัฒนาผลิตภัณฑ์ 9
การยกระดับ:ต้องเข้าใจเงื่อนไขต่างๆ ฐานทางเศรษฐกิจที่พึ่งตนเองและ แขงขันไดในเวทีโลก กระจายอุตสาหกรรมไปสู่ภูมิภาค เน้นการพัฒนาที่ยั่งยืน เข้มแข็งแต่ยืดหยุ่น ลดความเลื่อมล้ำทางสังคม เน้นการพัฒนาคน นโยบาย มี ยุทธศาสตร์ ส่งเสริมการส่งออก กระจายอำนาจการปกครอง ราคาน้ำมันผันผวน มี Productivity (ด้วยInnovation) ลดปัญหาขาดดุลการค้า ทดแทนการนำเข้า มี ความร่วมมือ และ บูรณาการ ย้ายฐานการผลิตมาไทย พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน แผนฯ 5 - 9 แผน 10 แผนฯ 1 - 4 เงื่อนไขทางการค้าที่เปลี่ยนไป วิกฤติน้ำมันครั้งที่ 1 (2516) Plaza Accord (2528) 14 ต.ค. 16 (2516) พฤษภาทมิฬ (2535) เงื่อนไขเศรษฐกิจโลกที่เปลี่ยนไป ราคาวัตถุดิบผันผวน 6 ต.ค. 19 (2519) Tom Yum Kung crisis (2540) เงื่อนไขทางการเมืองที่เปลี่ยนไป วิกฤติน้ำมันครั้งที่ 2 (2523) ลอยตัวเงินบาท (2540) สภาวะแวดล้อม 9’11 (2544) หวัดนก(2546) อัตราแลกเปลี่ยนผันผวน วิกฤติการเมืองไทย (2549) สภาวะแวดล้อมที่เกิดขึ้น ในช่วงต้นของแผนฯ 10 วิกฤติน้ำมันครั้งที่ 3 (2551) Hamburger crisis (2551)
เงื่อนไขทางการค้าที่เปลี่ยนไปเงื่อนไขทางการค้าที่เปลี่ยนไป การเป็นเสรีทางการค้าที่มีมากขึ้น โดยเฉพาะแบบทวิภาคี และกลุ่มประเทศ การกีดกันทางการค้าที่มีมากขึ้น โดยเฉพาะ การกีดกันทางการค้าที่มิใช่ภาษี NTB บทบาทของเอเชียในเวทีการค้าโลกที่เพิ่มขึ้น นำโดย ญี่ปุ่น จีน อินเดีย รวมทั้ง อาเซียน การแข่งขันที่อาศัยขนาด การแข่งขันที่อาศัยความรวดเร็ว และความเป็นปัจเจกบุคคคล
ญี่ปุ่น จำนวนประชากร (ล้านคน) 127.8 ขนาดเศรษฐกิจ 4,381.6 รายได้ต่อหัว ($)34,296.1 ทุนสำรอง(M.US$) 995,800 เงื่อนไขเศรษฐกิจโลกที่เปลี่ยนไป จีน จำนวนประชากร (ล้านคน) 1,321.0 ขนาดเศรษฐกิจ (พันล้านดอลลาร์) 3,280.2 รายได้ต่อหัว($)2,483.0 ทุนสำรอง(M.US$) 1,905,600 อินเดีย จำนวนประชากร (ล้านคน) 1,169.0 ขนาดเศรษฐกิจ (พันล้านดอลลาร์) 1,100.7 รายได้ต่อหัว ($)941.6 ทุนสำรอง (M.US$) 258,451
เงื่อนไขทางการเมืองที่เปลี่ยนไปเงื่อนไขทางการเมืองที่เปลี่ยนไป • สถานการณ์ทางการเมืองในปัจจุบันเป็นสิ่งที่เราต้องยอมรับว่ากำลังอยู่ในช่วงแห่งการเปลี่ยนผ่าน และจะเป็นปัจจัยกำหนดทิศทางแห่งการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมของไทย • ประเด็นอยู่ที่ว่าการเปลี่ยนผ่านนี้จะเป็นการเปลี่ยนผ่านในลักษณะใด มีความสูญเสียจากการเปลี่ยนผ่านมากไหม เปลี่ยนแล้วเป็นการเปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ้นจริงหรือเปล่า และจะใช้เวลาในการเปลี่ยนผ่านนานเพียงใด • สิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่นักอุตสาหกรรมไทย รวมทั้งนักลงทุนต่างชาติกำลังเฝ้ามองอย่างใกล้ชิด เพื่อการปรับตัวที่ถูกต้องและลดผลกระทบจากการเปลี่นผ่านทางการเมืองที่เกิดขึ้นในน้อยที่สุด
ภาวะความผันผวน...มีมากขึ้นภาวะความผันผวน...มีมากขึ้น ราคาวัตถุดิบ (8 ก.ค. 52) อัตราแลกเปลี่ยน (8 ก.ค. 52) เปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา ค่าเงินบาทเปลี่ยนแปลง 1.9 % ราคาน้ำมันเปลี่ยนแปลง 29.3 % ราคาทองแดงเปลี่ยนแปลง 52.1% ยางเปลี่ยนแปลง 18.5% Source: http://aric.adb.org/index.php
การยกระดับอุตสาหกรรม...เข้มแข็งแต่ยืดหยุ่นการยกระดับอุตสาหกรรม...เข้มแข็งแต่ยืดหยุ่น อุตสาหกรรมไทยต้องเข้มแข็ง เพื่อที่จะทำให้อุตสาหกรรมไทยสามารถแข่งขันได้ในเวทีการค้าโลก และช่วงชิงผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นจากบทบาทของภูมิภาคเอเชียที่จะมีเพิ่มขึ้น อุตสาหกรรมไทยต้องยืดหยุ่น ต่อการเปลี่ยนแปลงจากเศรษฐกิจโลก จากสภาวะแวดล้อมในการดำเนินธุรกิจและจากการเมืองที่เปลี่ยนไป
มี ยุทธศาสตร์ • ด้านเกษตร จะต้องให้ความสําคัญกับการเกษตรทั้งระบบจากการผลิตระดับไร่นามาสู่ผู้บริโภคคนสุดท้าย • ด้านอุตสาหกรรม จะต้องให้ความสําคัญกับการผลิตที่สนองความต้องการของตลาดที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว • ด้านบริการและท่องเที่ยว จะต้องปรับเปลี่ยนกลยุทธ์การตลาดจากการลงทุนที่มากแต่ให้ผลตอบแทนในสัดส่วนที่ตํ่ า (More for Less) มาสู่การลงทุนที่ได้มูลค่าตอบแทนที่เพิ่มขึ้น (More for More Value)
มี ผลิตภาพการผลิต (Productivity) และประสิทธิภาพการผลิตรวม (Total Factor Productivity) ประสิทธิภาพการผลิตรวม (Total Factor Productivity) การสร้างมูลค่าสินค้าและบริการจากการออกแบบ พัฒนาคุณภาพ และสร้างความแตกต่างที่ตรงตามความต้องการของผู้บริโภค และสามารถกำหนดทิศทางตลาดได้ (product) การเพิ่มประสิทธิภาพของการใช้ปัจจัยการผลิต(process) • ซึ่งเกิดจาก • ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี • นวัตกรรมของกระบวนการผลิต (Process innovation) • การพัฒนาคุณภาพคน/ ทักษะแรงงาน • การบริหารจัดการองค์กร (เช่น การใช้ Lean production technique และการทำระบบคุณภาพ (TQM)) • การพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐาน และการให้บริการ/ การบริหารจัดการภาครัฐ นวัตกรรมของผลิตภัณฑ์ (Product innovation) • การพัฒนาคุณภาพคน/ แรงงาน • การบริหารจัดการองค์ความรู้ • การยกระดับเทคโนโลยีและนวัตกรรม • การศึกษาและวิเคราะห์แนวโน้มตลาด • R&D ผลิตภาพการผลิตที่เพิ่มขึ้น จึงเป็นการขยายตัวของเศรษฐกิจในส่วนที่นอกเหนือจากผลจากการการใช้ปัจจัยทุนและแรงงานในปริมาณที่เพิ่มขึ้น
แข่งขันได้ : ต้องมีการเชื่อมโยงให้เกิดความร่วมมือระหว่างกลุ่มอุตสาหกรรมต่างๆ เพื่อประโยชน์โดยรวมและมูลค่าเพิ่มในภาคอุตสาหกรรม ต้นน้ำถึงปลายน้ำ เชื่อมโยงคลัสเตอร์ 18
ความประสานความร่วมมือ ของ 3 ภาคส่วน ภาคการศึกษา ภาครัฐ ภาคเอกชน Best Practices Theory Research & Development Collaboration Govt. Industry Universities Supply Needs มี ความร่วมมือ และบูรณาการ ที่มา: ดร.ทองฉัตร หงศ์ลดารมภ์
ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึง ความจำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร เศรษฐกิจพอเพียง: นำสู่การยกระดับอุตสาหกรรมอย่างยั่งยืน ปัญหาการก่อการร้าย กระแสโลกาภิวัฒก์ รอบรู้ ภูมิคุ้มกันที่ดี การวางแผนและ การดำเนินการ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รอบคอบ ระมัดระวัง ปัญหาการเมือง กระแสทุนนิยม
ประเด็นการนำเสนอ • ปัจจัยขับเคลื่อนเศรษฐกิจในอดีต • แนวทางการยกระดับภาคอุตสาหกรรมไทยในยุคโลกาภิวัฒน์ • ทิศทางการฟื้นตัวของภาคเศรษฐกิจอุตสาหกรรม • บทสรุป
สถานการณ์เศรษฐกิจโลก...เริ่มมีสัญญาฟื้นตัวสถานการณ์เศรษฐกิจโลก...เริ่มมีสัญญาฟื้นตัว Sources : OECD,Business Development Center (FTI)
ดัชนีชี้นำของประเทศพัฒนาแล้วยังคงหดตัว แต่อยู่ในอัตราที่ลดลง Sources : OECD,Business Development Center (FTI)
IMF ชี้เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณที่ดีขึ้น...แต่ดูเหมือนจะช้า แม้ว่า เศรษฐกิจโลกจะมีสัญญาณบวกจากภาคการเงินปรับตัวดีขึ้น การกระตุ้นเศรษฐกิจ และข้อมูลเศรษฐกิจหลายๆ ตัวปรับตัวดีขึ้นก็ตาม แต่ดูเหมือนการฟื้นตัวจะเกิดขึ้นข้า ทั้งนี้อาจเป็นผลจากระบบการเงินโลกยังคงได้รับความเสียหายจากวิกฤติที่เกิดขึ้น และการกระตุ้นเศรษฐกิจจากภาครัฐเริ่มลดน้อยลง เช่นเดียวกับภาคครัวเรือนที่ได้รับผลกระทบจากราคาสินทรัพย์ที่ลดลง
เศรษฐกิจโลกขยายตัว -1.4% ในปี 2009 ก่อนขยายตัว 2.5% ในปี 2010 Source : IMF(Jul 2009) 25 25
จุดต่ำสุดของวัฎจักรผลผลิตอุตสาหกรรมอยู่ในช่วง Q1/52ชี้ชัดโดย ดัชนีชี้นำฯ ที่ผ่านจุดต่ำสุดแล้วในเดือนสิงหาคม 51
ประจักษ์หลักฐานการฟื้นตัว...แต่ความเสี่ยงยังมีอยู่ประจักษ์หลักฐานการฟื้นตัว...แต่ความเสี่ยงยังมีอยู่
ผลกระทบต่อการขยายตัวเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม ปี 2552 ประมาณการเศรษฐกิจของประเทศคู่ค้า การผลิตภาคอุตสาหกรรมในปี 2552 จะอยู่ในภาวะถดถอยจากเศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจในประเทศที่จะยังคงอยู่ในภาวะหดตัว ทั้งนี้คาดว่า GDP ภาคอุตสาหกรรมจะหดตัวเท่ากับร้อยละ -5.3 28 ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง
หากเศรษฐกิจฟื้น...Order จะมาที่เราหรือไม่??? เศรษฐกิจโลกฟื้น แต่ Orderไป จีน เวียดนาม มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ คู่แข่งอื่น... ไทย 1. ผลิตสินค้าที่มีคุณภาพ มีมาตรฐาน ด้วยต้นทุนต่ำ(นำนวัตกรรมไปใช้) 2. ส่งมอบตรงเวลา ปรับปรุงเทคโนโลยีรวมทั้งเครื่องจักร(ที่เก่า) 3. ตระหนักถึงข้อกีดกันทางการค้า เช่น ไม่ใช้แรงงานเด็ก ไม่ใช้สารต้องห้าม มีระบบสืบย้อนกลับ(อุตสาหกรรมอาหาร) ความปลอดภัยในโรงงาน(กรณี Nike) เป็นต้น 4. เตรียมความพร้อมจากความผันผวนของราคาพลังงาน ราคาวัตถุดิบ และค่าเงินบาท 5. เตรียมความพร้อมด้านแรงงานทั้งในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ 29
ประเด็นการนำเสนอ • ปัจจัยขับเคลื่อนเศรษฐกิจในอดีต • แนวทางการยกระดับภาคอุตสาหกรรมไทยในยุคโลกาภิวัฒน์ • ทิศทางการฟื้นตัวของภาคเศรษฐกิจอุตสาหกรรม • บทสรุป
บทสรุป: การยกระดับภาคอุตสาหกรรมไทยในยุคโลกาภิวัฒน์ อุตสาหกรรมไทยควรยกระดับในแนวทาง...เข้มแข็งแต่ยืดหยุ่น ด้วยการก้าวอย่างย่างมียุทธศาสตร์ มีผลิตภาพ และมีความร่วมมือจากการประสานใน 3 ภาคส่วน เพื่อที่จะทำให้อุตสาหกรรมไทยสามารถแข่งขันได้ในเวทีการค้าโลก และช่วงชิงผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นจากบทบาทของภูมิภาคเอเชียที่เพิ่มขึ้น แต่อุตสาหกรรมไทยต้องยืดหยุ่นต่อการเปลี่ยนแปลงจากเศรษฐกิจโลก จากสภาวะแวดล้อมในการดำเนินธุรกิจ และจากการเมืองที่เปลี่ยนไป อุตสาหกรรมที่ควรได้รับการส่งเสริมเป็นพิเศษคือ อุตสาหกรรมอาหารและอุตสาหกรรมการเกษตรที่เป็นรากเหง้าของเรา อุตสาหกรรมแฟชั่นที่ควรเป็นมากกว่าโรงงานรับจ้างผลิต รวมทั้งการเพิ่มผลประโยชน์ให้เกิดขึ้นในภาคเกษตร ภาคบริการและท่องเที่ยว อันจะช่วยให้รายได้ของคนในชาติเพิ่มขึ้น ลดความเหลื่อมล้ำ และเพิ่มอุปสงค์ต่อเนื่อง การจะไปถึงจุดนั้นได้ ภาคการศึกษา ภาครัฐ ภาคเอกชน ต้องร่วมมือกันอย่างบูรณาการ
The Federation of Thai Industries (F.T.I.) ขอบคุณครับ www.fti.or.th 32