1 / 31

ความสำคัญของน้ำนมเหลืองในลูกสุกรแรกคลอด

ความสำคัญของน้ำนมเหลืองในลูกสุกรแรกคลอด. ผศ. ดร. เจษฎา จิวากานนท์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ มข. ประชุมวิชาการสัตวแพทยศาสตร์ มข. ครั้งที่ 11 วันที่ 10-11 มิถุนายน 2553. คำแนะนำในทางปฏิบัติ. ลูกสุกรแรกคลอดต้องได้รับ น้ำนมเหลือง ทันที. ความสำคัญของน้ำนมเหลืองในลูกสุกรแรกคลอด. ทำไม. ??? .

wolfgang
Download Presentation

ความสำคัญของน้ำนมเหลืองในลูกสุกรแรกคลอด

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความสำคัญของน้ำนมเหลืองในลูกสุกรแรกคลอดความสำคัญของน้ำนมเหลืองในลูกสุกรแรกคลอด ผศ. ดร. เจษฎา จิวากานนท์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ มข. ประชุมวิชาการสัตวแพทยศาสตร์ มข. ครั้งที่ 11 วันที่ 10-11 มิถุนายน 2553

  2. คำแนะนำในทางปฏิบัติ ลูกสุกรแรกคลอดต้องได้รับน้ำนมเหลืองทันที ความสำคัญของน้ำนมเหลืองในลูกสุกรแรกคลอด ทำไม.???..

  3. ลูกสุกรแรกคลอด • มีพลังงานสำรองในตัวน้อยมาก • ปราศจากภูมิคุ้มกัน น้ำนมเหลืองประกอบด้วย • พลังงาน • ภูมิคุ้มกันโรค

  4. ความต้องการพลังงานของลูกสุกรแรกคลอดความต้องการพลังงานของลูกสุกรแรกคลอด • - เพื่อรักษาสภาวะการทำงานปกติของร่างกาย = 275 kJ/kg BW • สร้างความร้อน เมื่ออุณหภูมิหนาวขึ้น = 2 kJ/kg BW/1C • สำหรับการยืน = 9.5 kJ/kg BW/1 h • ทำกิจกรรมปกติในวันแรกหลังคลอด > 105 kJ/kg BW ลูกสุกรหนัก 1 กิโลกรัม = 700 kJ/ Le Dividich et al, 1994

  5. พลังงานสำรองของลูกสุกรแรกคลอดพลังงานสำรองของลูกสุกรแรกคลอด • โปรตีนถูกเปลี่ยนรูปเป็นพลังงานในอัตราที่ต่ำมาก • ไกลโคเจน ในตับ  75% • ในกล้ามเนื้อ  41% • หมดอย่างรวดเร็วในช่วง 12 ชั่วโมงหลังคลอด • (Elliot and Lodge, 1977) • ไขมัน  10-20 g/kg BW (45% เป็นไขมันโครงสร้าง) • กรดไขมันผ่านรกได้น้อยมาก • การพัฒนาสายพันธุ์  มัน และไกลโคเจนน้อยลง • (Herpin et al, 1993) รวมพลังงานที่จะได้จาก ไกลโคเจน และไขมัน  420 kJ/kg BW

  6. 1000 ไขมัน ไกลโคเจน 800 สร้างความร้อน 600 เติบโต ทำกิจกรรม 400 รักษาสภาวะปกติ 200 0 พลังงานที่ใช้ได้ตอนแรกคลอด ความต้องการพลังงานในสภาวะอากาศสบาย ความต้องการพลังงานในสภาวะอากาศหนาว (<5C) Le Dividich et al, 2005

  7. http://www.pig333.com/what_the_experts_say/pig_article/78/controlling-the-environment-of-the-pighttp://www.pig333.com/what_the_experts_say/pig_article/78/controlling-the-environment-of-the-pig

  8. - พบเชื้อ Mycoplasma hyopneumoniae ในทางเดินหายใจลูกสุกร อายุ 1-3 สัปดาห์ Sibila, 2006 - การติดเชื้อ PCV-2 ในลูกสุกร อายุ 1 สัปดาห์มีความสัมพันธ์กับระดับภูมิคุ้มกันในแม่ Fraile, 2009 - การให้ยารักษาอาการ ข้ออักเสบ (-38 กรัมต่อวัน) ท้องเสีย (-8 กรัมต่อวัน) และการติดเชื้ออื่นๆ (-21 กรัมต่อวัน) มีผลต่อการเพิ่ม ADG ในลูกสุกรดูดนม Dodensig, 2004

  9. ไขมัน 30 แลตโต้ส 25 โปรตีนรวม 20 mg/ml 15 10 5 0 0 1 2 3 6 12 24 36 เวลา (ชั่วโมง) หลังคลอด น้ำนมเหลือง Le Dividich et al, 2005

  10. น้ำนมเหลือง Xu et al, 2002

  11. ประสิทธิภาพในการใช้พลังงานและโปรตีนของลูกสุกรประสิทธิภาพในการใช้พลังงานและโปรตีนของลูกสุกร Le Dividich, 1994 and Marion, 1999

  12. น้ำนมเหลือง • ผลิตอย่างต่อเนื่อง   ตามจังหวะการดูดนมของลูก (40-60 นาที) • ปริมาณน้ำนมเหลืองมีความผันแปรสูงมาก เฉลี่ย ใน 24 ชมแรก =210-280 g/kg BW, CV 15-100% Fraser and Rushen, 1992

  13. ความแตกต่างของน้ำหนักลูกสุกรแต่ละตัวในครอก  (86-88%) ปริมาณน้ำนมเหลืองที่ลูกสุกรได้รับ 1. ความสามารถในการผลิตน้ำนมของแม่สุกร 2. ความสามารถในการดูดนมของลูกสุกร

  14. ความสามารถในการผลิตน้ำนมของแม่สุกร (65%) • สุขภาพแม่สุกร • การคลอดก่อนกำหนด • การเปลี่ยนแปลงด้านฮอร์โมน • และเมตาบอลิซึ่มของระบบสืบพันธุ์ • ลำดับท้อง • ภาวะทางโภชนาการ • พันธุกรรม

  15. ความสามารถในการดูดนมของลูกสุกรความสามารถในการดูดนมของลูกสุกร 1. ปัจจัยด้านครอกสุกร - น้ำหนักแรกคลอด (45 % ของแม่สุกรผลิตน้ำนมได้เพียงพอ กับครอกขนาด 12-13 ตัวที่มีน้ำหนักเฉลี่ย 1400 กรัมต่อตัว) - ลำดับการคลอด - ขนาดครอก 2. ปัจจัยด้านอื่นๆ - อากาศหนาว - การฉีกขาดของสายสะดือ - ขากาง - อ่อนแอแรกคลอด

  16. ความสำคัญทางภูมิคุ้มกันของน้ำนมเหลืองความสำคัญทางภูมิคุ้มกันของน้ำนมเหลือง แอนติบอดี้

  17. น้ำนมเหลือง  IgG 100% และ IgA 40% มาจาก เลือดแม่ • - น้ำนม  IgG 30% และ IgA 10% มาจาก เลือดแม่ Elizabeth, 2000 - IgG ในน้ำนมเหลือง มีความเข้มข้นสูงกว่า กระแสเลือดแม่ ถึง 7 เท่า Franek, 1975 - แม่สุกรมีความสามารถผลิต IgA ในน้ำนม ถึง 30 กรัม/วัน (สูงกว่าในคน 30 เท่า) Butler, 1998 - IgA preplasma cells, T- และ B-lymphocyte subsets  เคลื่อนย้ายจากทางเดินอาหารสู่เต้านม Salmon, 1987

  18. - แม่สุกรทำวัคซีนอหิวาต์ก่อนคลอด  ตรวจพบแอนติบอดี้ต่อเชื้อในกระแสเลือดลูกสุกร 2 ชั่วโมงหลังดูดนม Vandeputte, 2001 - พบแอนติบอดี้ต่อการติดเชื้อ มัยโคพลาสม่า ในน้ำนมเหลืองแม่ลำดับท้องต่างๆกัน Calsamiglia, 2000 • การติดเชื้อ Actinobacillus pleuropneumoniae ในฝูงสุกร • สัมพันธ์กับระดับแอนติบอดี้ต่อเชื้อนี้ ในน้ำนมเหลือง Vigre, 2002 - แม่สุกรทำวัคซีน Leptospira  ตรวจพบแอนติบอดี้ต่อเชื้อในน้ำนมเหลือง Francisco, 2008 - แม่สุกรทำวัคซีน PCV2  ตรวจพบแอนติบอดี้ต่อเชื้อในน้ำนมเหลือง Goubier,2009

  19. แอนติบอดี้ในนมน้ำแม่มีผลต่อการสร้างภูมิคุ้มกันของลูกสุกรแอนติบอดี้ในนมน้ำแม่มีผลต่อการสร้างภูมิคุ้มกันของลูกสุกร - ลูกสุกรที่ไม่ได้รับน้ำนมแม่ จะสร้างภูมิคุ้มกันของตัวเองได้ภายใน 7-10 วัน Klobasa, 1981; Roth, 1991; Salmon, 1987 - แอนติบอดี้จากน้ำนมในกระแสเลือดลูก กด การสร้างแอนติบอดี้ของลูกสุกรเอง Redman, 1979; Klobasa, 1981; Boersema, 1998 - มีการพัฒนา Memmory cells ในลูก Klobasa, 1981

  20. ความสำคัญทางภูมิคุ้มกันของน้ำนมเหลืองความสำคัญทางภูมิคุ้มกันของน้ำนมเหลือง เซลล์เม็ดเลือดขาว

  21. - ลูกสุกรได้รับ WBC 500 – 700 ล้านเซลล์/วัน Le Jan, 1996 - Neutrophilic killing index > 1 (intracellular bacterial killing) (ในเลือด = 0.14-0.25) Schollenberger, 1986 - 70%-90% ของ lymphocyte คือ T cells Le Jan, 1994 - Memory T cell มากสุดในกลุ่ม T cells Roth, 1999; Le Jan, 1996

  22. Tuboly, 1988 และ Williams, 1993 ก่อน 24 ชั่วโมง พบใน ตับ ปอด ต่อมน้ำเหลือง ม้าม และทั่วลำไส้ - lymphocyte จากน้ำนมเหลือง กระตุ้น การทำงานของเม็ดเลือดขาวลูกสุกร ได้มากกว่า lymphocyte จากเลือดแม่ Williams, 1993

  23. ตรวจพบเซลเม็ดเลือดขาวที่จำเพาะต่อเชื้อ มัยโคพลาสม่า • ในน้ำนมเหลืองแม่สุกรที่ทำวัคซีน และในกระแสเลือดลูกสุกร • (ไม่พบในน้ำนมเหลืองแม่สุกรที่ไม่ได้ทำวัคซีน) Bandrick, 2008 - ตรวจพบเซลเม็ดเลือดขาวที่จำเพาะต่อเชื้อ PCV2 ในน้ำนมเหลืองแม่สุกรที่ทำวัคซีน (ไม่พบในน้ำนมเหลืองแม่สุกรที่ไม่ได้ทำวัคซีน) (IFN- andTNF--producing PCV2-specific CD4+ and CD8+ cells Goubier,2009

  24. ความสำคัญทางภูมิคุ้มกันของน้ำนมเหลืองความสำคัญทางภูมิคุ้มกันของน้ำนมเหลือง 1. ลูกสุกรไม่ได้รับภูมิคุ้มกันผ่านทางรก 2. ระบบภูมิคุ้มกันของลูกสุกรยังพัฒนาไม่เต็มที่ ใช้เวลาอย่างน้อย 6 วัน  พบแอนติบอดี้ในกระแสเลือดลูกสุกรที่ไม่ได้กินน้ำนมเหลือง Klobasa,1981 และ Drew and Owens, 1988 3. เซลล์ลำไส้ลูกสุกรสามารถดูดซึม แอนติบอดี้ และ เซลล์เม็ดเลือดขาวได้ ในช่วง ไม่เกิน 24-36 ชั่วโมงหลังคลอดเท่านั้น - การเพิ่มขึ้นของ cortisol อย่างไม่เหมาะสม  premature gut closer 4. Selective absorption of IgG and leukocyte……Best for colostrum

  25. ระดับแอนติบอดี้ในน้ำนมเหลืองระดับแอนติบอดี้ในน้ำนมเหลือง มีความแตกต่างกันในแม่แต่ละตัว - ลำดับท้อง - ฤดูกาล - พันธุกรรม?

  26. สารอื่นๆ • transferin, lactoferin, lysozyme • - Lipopolysaccharide-binding proteins • - ไซโตคราย • IL-6, TNF-, IFN-, IL-12, IL-10, IL-4 และ TGF-

  27. ขอบคุณครับ

More Related