1.65k likes | 1.93k Views
การสัมมนากรรมการผู้ตัดสินว่ายน้ำโลก ครั้งที่ 9. วันที่ 3-4 เมษายน 2553 ประเทศสิงคโปร์. วันที่ 3-4 เมษายน 2553 ประเทศสิงคโปร์ _ _____________________________________________________________________________________________________________________________--___.
E N D
การสัมมนากรรมการผู้ตัดสินว่ายน้ำโลก ครั้งที่ 9 วันที่ 3-4 เมษายน 2553 ประเทศสิงคโปร์
วันที่ 3-4 เมษายน 2553 ประเทศสิงคโปร์ _ _____________________________________________________________________________________________________________________________--___ การสัมมนากรรมการผู้ตัดสินว่ายน้ำโลก ครั้งที่ 9 สมาชิกในภาคีแต่ละชาติแนะนำตัว (เริ่มจากประเทศ ขึ้นต้นด้วยอักษร A-Z)
***** *************************************************************************** พิธีกร.....กล่าวต้อนรับ ..... เดล นิวเบอเกอร์ ..... รองประธานสหพันธ์ว่ายน้ำนานาชาติ **************************************************************************** FINA 101 : ผู้เข้าร่วมสัมมนา แนะนำตัว ต่อสมาชิกภาคีผู้เข้าร่วมในครั้งนี้
FINA – Organized July 19, 1908 สหพันธ์ว่ายน้ำนานาชาติ(FINA) จัดตั้งป็นองค์กรเมื่อ วันที่ 19 กรกฏาคม 2451 จุดมุ่งหมายเบื้องต้น • เพื่อวางกฏ ระเบียบ กติกาการแข่งขัน สำหรับกีฬาทางน้ำ อาทิ ว่ายน้ำ กระโดดน้ำ โปโลน้ำ ระบำใต้น้ำ และว่ายน้ำมาราธอน เพื่อดำเนินการจัดการแข่งขันในระดับนานาชาติ รวมถึงการแข่งขันกีฬาโอลิมปิคเกมส์ เป็นการส่งเสริมและสนับสนุน การพัฒนาการทางด้านกีฬา ให้เป็นที่กว้างขวางมากยิ่งขึ้น
Governance of FINA ตำแหน่งคณะกรรมการของฟีน่า สหพันธ์กรรมการใหญ่ กรรมการฝ่ายเทคนิค สำนักงาน ฟีน่า คณะกรรมการฝ่ายเทคนิค (ถาวร) คณะกรรมาธิการที่ได้รับมอบหมาย (มีอำนาจเต็ม)
Congresses องค์กรสภาสหพันธ์ว่ายน้ำ องค์กรสภาสหพันธ์ว่ายน้ำประกอบไปด้วย สหพันธ์กรรมการใหญ่ เป็นผู้มีสิทธิ์และอำนาจเต็ม ในสหพันธ์ว่ายน้ำ ประกอบด้วย กรรมการฝ่ายเทคนิค ว่ายน้ำ กระโดดน้ำ โปโลน้ำ ระบำใต้น้ำ ว่ายน้ำมาราธอน ว่ายน้ำผู้สูงอายุ
FINABUREAU - 22 Members ประธานสหพันธ์ฟีน่า เลขาธิการกิตติมศักดิ์ เหรัญญิก กิตติมศักดิ์ รองประธานสหพันธ์ (5) สมาชิก (14) ประธานฟีน่า รวมถึงฝ่ายจัดการบริหารงาน สมาชิกของสำนักงานฟีน่า มีจำนวน 22 คน สมาชิกที่ได้รับการแต่งตั้งโดยการลงคะแนนเสียงดังนี้
ประธานกิตติมศักดิ์ถาวร(โดยตำแหน่ง) ประธานกิตติมศักดิ์ถาวร(โดยตำแหน่ง) สมาชิกกิตติมศักดิ์ ฝ่ายจัดการบริหารงานกิตติมศักดิ์ สมาชิกที่ได้รับการแต่งตั้งโดยไม่มีการลงคะแนนเสียงดังนี้
FINA Standing Committees (7) การก่อตั้งสมาพันธ์ว่ายน้ำนานาชาติ (7) ว่ายน้ำ ปี พ.ศ. 2450 (ค.ศ. 1908) กระโดดน้ำ ปี พ.ศ. 2470 (ค.ศ.1928) โปโลน้ำ ปี พ.ศ. 2470 (ค.ศ. 1928) ระบำใต้น้ำ ปี พ.ศ. 2498 (ค.ศ. 1956)
เวชศาสตร์ด้านการกีฬา ปี พ.ศ. 2511(ค.ศ. 1968) ว่ายน้ำสำหรับผู้สูงอายุ ปี พ.ศ. 2528 (ค.ศ. 1986) ว่ายน้ำมาราธอน ปี พ.ศ. 2534 (ค.ศ. 1992)
FINA Commissions (11) คณะกรรมาธิการสหพันธ์ว่ายน้ำนานาชาติ (11) ด้านกฏหมาย ด้านผู้ฝึกสอน ด้านนักกีฬา คณะบุคคลากรตรวจสอบยา ด้านโฆษณาสื่อพิมพ์ คณะกรรมการ การควบคุมใช้ยาบำรุง
คณะกรรมการ ด้านรักษาวินัย คณะกรรมาธิการด้าน การพัฒนาการกีฬา คณะกรรมาธิการด้าน พิธีการ คณะกรรมาธิการ การแจกวุฒิบัตร คณะกรรมาธิการด้านการประสานงาน กับสหพันธ์นานาชาติ
Continental Structure of FINA สหพันธ์ว่ายน้ำนานาชาติในแต่ละทวีป มีดังนี้ สหพันธ์ว่ายน้ำภาคพื้นอเมริกา Union Americana de Natacion(ASUA) สหพันธ์ว่ายน้ำภาคพื้นยุโรป European Swimming League (LEN)
สหพันธ์ว่ายน้ำภาคพื้นแอฟริกาสหพันธ์ว่ายน้ำภาคพื้นแอฟริกา African Swimming Confederation (CANA) สหพันธ์ว่ายน้ำภาคพื้นเอเชีย Asean Swimming Federaton(ASF) สหพันธ์ว่ายน้ำภาคพื้นโอเชียเนีย Oceania Swimming Federaton(OSA)
FINA Growth in Member Federations จำนวนประเทศสมาชิกของสหพันธ์ว่ายน้ำนานาชาติ ปี พ.ศ.2553 (ค.ศ.2010) = 202 ประเทศ ปี พ.ศ.2531 (ค.ศ.1988) = 109 ประเทศ ปี พ.ศ.2501 (ค.ศ.1958) = 75 ประเทศ ปี พ.ศ.2451 (ค.ศ.1908) = 8 ประเทศ
Duties of National Federations หน้าที่ของสหพันธ์ว่ายน้ำนานาชาติ มีอิสระ ในการดูแลควบคุมจากคณะกรรมการส่วนกลาง มีความรับผิดชอบต่อนักกีฬา
มีความรับผิดชอบ รักษา ระเบียบวินัยในกีฬาทางน้ำ ยึดถือแนวทาง ปฏิบัติตามกฏกติกาฟีน่า
FINA Events รายการแข่งขันกีฬาทางน้ำของสหพันธ์ว่ายน้ำนานาชาติ การแข่งขันว่ายน้ำชิงชนะเลิศสระ 25 เมตร ระดับโลก รายการแข่งขันว่ายน้ำชิงชนะเลิศระดับโลก และรายการแข่งขันว่ายน้ำผู้สูงอายุระดับโลก(5 ระเภท) การแข่งขันกีฬาทางน้ำเพื่อจัดลำดับในการชิงถ้วยระดับโลก
รายการแข่งขันโปโลน้ำโลกรายการแข่งขันโปโลน้ำโลก การแข่งขันระบำใต้น้ำชิงถ้วยชนะเลิศ ระดับโลก รายการแข่งขันกระโดดน้ำกรังส์ปรี และแข่งขันกระโดดน้ำโลก รายการแข่งขันว่ายน้ำจูเนียร์ ชิงชนะเลิศระดับโลก
FINA Programs ภาระกิจของสหพันธ์ว่ายน้ำนานาชาติ การพัฒนาการกีฬาทางน้ำ ของสหพันธ์ว่ายน้ำนานาชาติ การสัมมนา คณะกรรมการผู้ตัดสินว่ายน้ำ ของสหพันธ์ว่ายน้ำนานาชาติ
โรงเรียนของสหพันธ์ว่ายน้ำนานาชาติเกี่ยวกับคณะกรรมการผู้ตัดสิน ผู้ชี้ขาด และกรรมการดูฟาล์ว การจัดประชุมและการสัมมนา สหพันธ์ว่ายน้ำนานาชาติ การตรวจการใช้ยาโด๊ป ของสหพันธ์ว่ายน้ำนานาชาติ
Future Events List: 2010-2012 กิจกรรมที่จะเกิดขึ้นระหว่างปี พ.ศ.2553-2555 (ค.ศ.2010-2012) ยูธโอลิมปิคเกมส์ ครั้งที่ 1 จัดแข่งขันที่ประเทศสิงคโปร์ เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2553 (ค.ศ. 2010) การประชุมกีฬาทางน้ำระดับโลก ครั้งที่ 1 ที่ประเทศอุรุกวัย เดือนกันยายน พ.ศ.2553(ค.ศ. 2010) ฟีน่าเวิลด์สวิมมิ่ง รอบชิงชนะเลิศว่ายน้ำ 25 เมตร ที่เมืองดูไบ สหรัฐอมิเรต พ.ศ. 2553 (ค.ศ. 2010)
ชิงชนะเลิศว่ายน้ำฟีน่าเวิลด์ ที่เซี่ยงไฮ้ ประเทศจีน พ.ศ.2554 (ค.ศ. 2011) ชิงชนะเลิศว่ายน้ำฟีน่า จูเนียร์เวิลด์สวิมมิ่ง ที่ลิม่า ประเทศเปรู พ.ศ. 2554 (ค.ศ. 2011) โอลิมปิคเกมส์ ครั้งที่ 30 ที่กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ พ.ศ. 2555 (ค.ศ. 2012) ชิงชนะเลิศว่ายน้ำฟีน่าเวิลด์สวิมมิ่ง (สระ 25 เมตร) ที่อิสตันบูล ประเทศตุรกี พ.ศ. 2555 (ค.ศ. 2012)
คำถาม / ความคิดเห็น Questions / Comments โดย... เดล นูเบอเกอร์ รองประธานสหพันธ์ฟีน่า Dale Neuburger FINA Vice President dneuburger@tseconsulting.com กล่าวขอบคุณทุกท่าน
การสัมมนากรรมการผู้ตัดสินว่ายน้ำโลก ครั้งที่ 9 วันที่ 3-4 เมษายน 2553 ประเทศสิงคโปร์ ================================================== กฏกติกาว่ายน้ำฉบับใหม่หลังการประชุมที่กรุงโรม เมื่อปี 2552
General Rulesกฎข้อบังคับทั่วไป These General Rules are basic regulations for FINA competitions in all kinds of Swimming, Open Water Swimming, Diving, Water Polo, Synchronised Swimming, and Masters Competitions as well as for uniform regulations for the development of competition facilities. กฎ ระเบียบข้อบังคับทั่วไปฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของ กฏข้อบังคับที่สหพันธ์ว่ายน้ำนานาชาติได้บัญญัติไว้ สำหรับการแข่งขันกีฬาทางน้ำ อาทิ ว่ายน้ำ ว่ายน้ำมาราธอน กระโดดน้ำ โปโลน้ำ ระบำใต้น้ำและว่ายน้ำสำหรับผู้สูงอายุ เพื่อเป็นแบบอย่างในการพัฒนาและสะดวก ง่ายในการแช่งขัน
In these Rules, competitors shall include swimmers, open water swimmers, divers, water polo players, synchronised swimmers, or masters swimmers, either male or female. กฎ ระเบียบข้อบังคับ,ผู้แข่งขันประกอบด้วย นักกีฬาว่ายน้ำ นักกีฬาว่ายน้ำมาราธอน นักกีฬากระโดดน้ำ นักกีฬาโปโลน้ำ นักกีฬาระบำใต้น้ำ นักกีฬาว่ายน้ำผู้สูงอายุ ทั้งขายและหญิง
FINA recognises that these Rules may be adjusted for competitions within a given Federation but recommends that all Members adhere to these Rules as closely as possible. สหพันธ์ว่ายน้ำนานาชาติได้ตระหนักถึงกฏกติกา การแข่งขัน คณะกรรมการสามารถปรับปรุงแก้ไขให้ทันกับสถานการณ์ในการแข่งขันได้
GR 5 SWIMWEARชุดว่ายน้ำ GR 5.1 The swimwear (swimsuit, cap and goggles) of all competitors shall be in good moral taste and suitable for the individual sportsdisciplines and not to carry any symbol which may be consideredoffensive.กติกาทั่วไป ข้อ 5.1 อุปกรณ์ว่ายน้ำ ประกอบด้วย ชุดว่ายน้ำ,หมวกและแว่นตากันน้ำ ของผู้เข้าแข่งขันต้องมีความเหมาะสมในกีฬาประเภทบุคคล โดยไม่มีสัญลักษณ์ใดๆ
GR 5.2 All swimsuits shall be non transparent. กติกาทั่วไป ข้อ 5.2 ฃุดว่ายน้ำต้องให้น้ำซึมผ่านเข้าเนื้อผ้าได้
GR 5.3 In swimming competitions.the competitor must wear only one swimsuit in one or two pieces.For men the swimsuit shall not extend above the navel nor below the knee,and for women shall not cover the neck,extend past the shoulder,nor extend below knee.All swimsuits shall be made from textile materials.No additionitem.like arm bands or leg bands shall be regarded as parts of swimsuit.
กติกาทั่วไปข้อ 5.3 ในการแข่งขันว่ายน้ำ ผู้เข้าแข่งขันจะต้องสวมชุดว่ายน้ำเพียงชุดเดียวเท่านั้นชุดนั้นจะเป็นชุดเต็มตัวหรือสองส่วนก็ได้ สำหรับนักว่ายน้ำชายนั้น ความยาวของชุดตั้งแต่ระดับเอว(สะดือ)ลงมาถึงระดับเข่า สำหรับนักว่ายน้ำหญิง ชุดไม่ปิดคอและไม่ปิดหัวไหล่ ความยาวของชุดตั้งแต่ระดับคอยาวลงมาถึงเข่า ชุดว่ายน้ำทั้งหมดนี้ต้องผลิตจากเนื้อผ้าที่ถักทอเท่านั้นโดยไม่มีส่วนอื่นใดเช่น ไม่มีปลอกแขน ปลอกเข่าที่เป็นส่วนหนึ่งของชุดว่ายน้ำ
GR 5.4 The referee of a competition has the authority to exclude any competitor whose swimsuit or body symbols do not comply with thisrule. กติกาทั่วไปข้อ 5.4 ผู้ตัดสินชี้ขาดมีอำนาจตามบทบัญญัติ ที่จะไม่ให้ผู้เข้าแข่งขันใดๆที่สวมชุดว่ายน้ำที่มีสัญลักษณ์ปรากฏอยู่บนชุดว่ายน้ำ
GR 5.5 Before any swimwear of new design, construction or material is used in competition, the manufacturer of such swimwear must submit the swimwear to FINA and obtain approval of FINA. กติกาทั่วไปข้อ 5.5 ชุดว่ายน้ำที่ใช้ในการแข่งขัน ผู้ผลิตชุดว่ายน้ำจะต้องยื่นเรื่องขออนุมัติจากสหพันธ์ว่ายน้ำนานาชาติก่อนที่จะนำมาใช้
GR 7 SUBSTITUTION, DISQUALIFICATION ANDWITHDRAWAL กติกาทั่วไปข้อ 7 ผู้เข้าแข่งขันสำรอง,การตัดสิทธิ์และการถอนตัว
GR 7.1 Any entered competitor may be substituted by another enteredcompetitor at the Team Leaders Meeting. It is mandatory for one representative of each Federation to take part in the Team Leaders Meeting. Failing to do so will result in a fine of 100 SwissFrancs. กติกาทั่วไปข้อ 7.1 เมื่อมีการประชุมหัวหน้าทีมกับคณะกรรมการว่ายน้ำ หัวหน้าทีมสามารถเสนอผู้เข้าแข่งขันว่ายน้ำสำรองแทนนักกีฬาว่ายน้ำประเภทนั้นได้เลย(กรณีนักกีฬาป่วย)ถ้าไม่แจ้งและไม่มี นักกีฬาเข้าแข่งขันว่ายน้ำในรายการนั้น ทีมนั้นจะถูกปรับเป็นเงิน 100 เหรียญสวิสฟรังค์
GR 7.2 In all competitions except water polo, a competitor or team not wishing to take part in a semi-final or final in which qualification was earnedshall withdraw within thirty (30) minutes following the preliminaries or the semi-finals of the event in which the qualification took place. The member federation of any competitor who withdraws from the heats/preliminary rounds after the Team Leaders Meeting or from a semi-final or final more than thirty (30) minutes after the preliminaries or semi-finals of the event in which qualification was earned, shall pay without excuse to the honorary treasurer the sum of one-hundred (100) Swiss francs; in case of a relay, duet, team or combination, the sum shall be two-hundred 200) Swiss francs.
กติกาทั่วไปข้อ 7.2 • การสละสิทธิ์ ในรอบรองชนะเลิศหรือรอบชิงชนะเลิศ • ให้หัวหน้าทีมทำหนังสือแจ้งต่อคณะกรรมการ การจัดการแข่งขันภายในเวลา 30 นาทีหลังจากการแข่งขันในรอบคัดเลือก,รอบรองชนะเลิศแล้ว นักกีฬาชาติใดๆก็ตามถ้ามีการสละสิทธิ์ในรอบคัดเลือกหลังจากการประชุมผู้จัดการทีม หรือจากรอบรองชนะเลิศหรือรอบชิงชนะเลิศ • เกินกว่าเวลา 30 นาทีหลังจากการแข่งขันในรอบคัดเลือกหรือรอบรองชนะเลิศสิ้นสุดลงแล้ว หากแจ้งสละสิทธิ์ในภายหลัง นักกีฬาจะต้องถูกปรับเป็นเงิน 100 เหรียญสวิสฟรังค์ ในกรณีการแข่งขันของรายการว่ายผลัดจะถูกปรับเป็นเงิน 200 เหรียญสวิสฟรังค์ และให้หัวหน้าทีมทำหนังสือแจ้งเหตุผลต่อคณะกรรมการจัดการแข่งขันด้วย
GR 9.2 Protests การประท้วง GR 9.2.1 Protests are possible • a) if the rules and regulations for the conduct • of the competition are notobserved, • if other conditions endanger the competitions • and/or competitors, or • against decisions of the referee; however, • no protest shall beallowed against decisions • of fact.
กติกาข้อ 9.2.1 การประท้วงสามารถกระทำได้ • ก. ถ้าไม่ปฏิบัติเป็นไปตามกฏระเบียบข้อบังคับ • ข. ถ้าสภาพที่ไม่ปลอดภัยกับการแข่งขันและ • ผู้เข้าแข่งขัน หรือ • ค. ขัดแย้งคำตัดสินของผู้ตัดสิน
GR 9.2.2. Protest must be submitted (a) to the referee, (b) in writing on FINA Forms, (c) by the responsible team leader, (d) together with a deposit of 100 Swiss Francs or its equivalent, and (e) within 30 minutes following the conclusion of the respective event or match. If conditions causing a potential protest are noted prior to the event a protest must be lodged before the signal to start is given.
กติกาข้อ 9.2.2 การยื่นการประท้วง • ก. หัวหน้านักกีฬาเป็นผู้ยื่นประท้วงต่อผู้ตัดสิน • ข.การประท้วง โดยทำหนังสือเป็นลายลักษณ์อักษร • ตาม แบบฟอร์มของสหพันธ์ว่ายน้ำนานาชาติ • ค. ยื่นโดยหัวหน้าทีมเท่านั้น • ง. วางเงินประกัน 100 เหรียญสวิสฟรังค์หรือเทียบเท่า • จ. ให้ยื่นประท้วงภายในเวลา 30 นาที หลังจากการ แข่งขันในรายการนั้นๆสิ้นสุดลง ถ้าการประท้วงเป็นผลที่น่าเป็นไปได้ ต้องยื่นก่อนสัญญาณ การตัดสินของผู้ตัดสินจะเริ่มขึ้น
GR 9.6 Programming โปรแกรม GR 9.6.1 Programme of Events กติกาข้อ 9.6.1 โปรแกรมการแข่งขัน
(* Indicates event conducted only at World Championships at present.) GR 9.6.1.1 Swimming - World Championships (25m) Men Women Freestyle 50m, 100m, 200m 50m, 100m, 200m 400m, 1500m 400m, 800m Backstroke 50m, 100m, 200m 50m, 100m, 200m Breaststroke 50m, 100m, 200m 50m, 100m, 200m Butterfly 50m, 100m, 200m 50m, 100m, 200m
Men Women Ind. Medley 100m, 200m, 400m 100m, 200m, 400m Relays: Freestyle 4x100m, 4x200m 4x100m, 4x200m Medley 4x100m 4x100m Only entry times achieved in 25m pools will be accepted. Heats, semi-finals, and finals may be swum using 10 lanes.
(* เครื่องหมาย ที่มีการแข่งขันในรายการชิงชนะเลิศโลกเท่านั้น) • กติกาข้อ 9.6.1.1 โปรแกรมการแข่งขันว่ายน้ำสระ 25 เมตร ชิงชนะเลิศโลกประเภทการแข่งขัน ทั้งประเภทชายและ ประเภทหญิง ประเภท ชาย หญิง ฟรีสไตล์ 50,100,200 ม. 50,100,200 ม. 400 และ1,500 ม. 400 และ 800 ม. กรรเชียง 50,100,200 ม. 50,100,200 ม. กบ 50,100,200 ม. 50,100,200 ม.ผีเสื้อ 50,100,200 ม. 50,100,200 ม.
ประเภท ชาย หญิง เดี่ยวผสม 100,200 และ 400 ม.100,200 และ 400 ม. ผลัดฟรีสไตล์4 x100, 4x200 ม. 4 x100, 4x200 ม. ผลัดผสม 4x100 ม. 4x100 ม. แต่ละทีม ส่งสถิติเวลาที่ทำได้ในการว่ายสระ 25 เมตร ในรอบคัดเลือก, การแข่งขันรอบรองชนะเลิศและรอบชิงชนะเลิศ อาจใช้ 10 ลู่ว่าย