1 / 18

สถานการณ์/แนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกและคอตีบ จังหวัดศรีสะเกษ

สถานการณ์/แนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกและคอตีบ จังหวัดศรีสะเกษ. ประเด็นการนำเสนอ. 1. สถานการณ์/แนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก 2. สถานการณ์/แนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคคอตีบ. 2.

Download Presentation

สถานการณ์/แนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกและคอตีบ จังหวัดศรีสะเกษ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สถานการณ์/แนวทางการดำเนินงานสถานการณ์/แนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกและคอตีบ จังหวัดศรีสะเกษ

  2. ประเด็นการนำเสนอ 1. สถานการณ์/แนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก 2. สถานการณ์/แนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคคอตีบ 2

  3. สถานการณ์/แนวทางการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกสถานการณ์/แนวทางการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก

  4. จำนวนผู้ป่วย 1,163 รายอัตราป่วย 80.07 ต่อแสนประชากรอัตราป่วยสูงเป็นลำดับที่ 38 ของประเทศและลำดับที่ 6 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือเสียชีวิต 1 ราย (ร้อยละ 0.09)แหล่งข้อมูล ศูนย์ระบาดวิทยา สสจ.ศรีสะเกษ(19 ตค. 55) สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดศรีสะเกษ

  5. จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกปี 2555 เทียบกับค่ามัธยฐาน 5 ปี จังหวัดศรีสะเกษ

  6. อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก ปี 2550-2554 จ.ศรีสะเกษ จำแนกรายอำเภอ อัตราต่อแสนประชากร

  7. อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก ปี 2550-2554 จ.ศรีสะเกษ จำแนกรายอำเภอ อัตราต่อแสนประชากร

  8. อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก ปี 2550-2554 จ.ศรีสะเกษ จำแนกรายอำเภอ อัตราต่อแสนประชากร

  9. อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก ปี 2550-2554 จ.ศรีสะเกษ จำแนกรายอำเภอ อัตราต่อแสนประชากร

  10. การดำเนินงานในปี 2555 1. มีการรณรงค์ 2. สุ่มประเมินความชุกลูกน้ำยุงลายปีละ 2 ครั้ง 3. ประกวดหมู่บ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย 4. ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วม ในการดำเนินงาน (อปท.สนับสนุนสารเคมี) 5. RANKING ***ภส./ขห./กล./รษ./เมืองฯ/กร./อพ./พยุห์/ขข./นก.*** ***เสียชีวิต 1 ราย*** 10

  11. การดำเนินงานในปี 2556 ถือเป็นวาระของจังหวัดศรีสะเกษ 11

  12. แนวทางการดำเนินงานในปี 2556 1. การรณรงค์ 4 ครั้ง -ครั้งที่ 1 วันที่ 2-8 ธันวาคม 2555 -ครั้งที่ 2 วันที่ 10-16 มีนาคม 2556 -ครั้งที่ 3 วันที่ 9-15มิถุนายน 2556 -ครั้งที่ 4 วันที่ 11-17 สิงหาคม 2556 2. ตำบลจัดการไข้เลือดออกดีเด่น1 ตำบล/1 อำเภอ 3.ประเมินโครงการ “ผ้าตาข่าย ลดโรคไข้เลือดออก” -รายงานเดือนละ 1 ครั้ง -สุ่มประเมินโดยจังหวัด (มค./กค.) 4. นิเทศติดตาม 5. การพัฒนาศักยภาพ/ conference case 6. การตรวจเลือดวิเคราะห์

  13. สถานการณ์/แนวทางการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคคอตีบสถานการณ์/แนวทางการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคคอตีบ

  14. สถานการณ์โรคคอตีบ ไม่มีผู้ป่วยมาตั้งแต่ปี 2547-2555 2539 = 1ราย 2540 = 1 ราย • = 1 ราย • = 1 ราย 2546 = 1 ราย

  15. ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนความครอบคลุมการได้รับวัคซีน เด็กอายุ 0-5 ปี ร้อยละ 95.16 นักเรียน ป.1 ร้อยละ 98.82 นักเรียน ป.6 ร้อยละ 98.49

  16. แนวทางการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคคอตีบ จังหวัดศรีสะเกษ 1. ทบทวนตรวจสอบความครอบคลุมการได้รับวัคซีน 2. ทบทวนองค์ความรู้เจ้าหน้าที่ทุกระดับ 3. แจ้งผู้บริหารในที่ประชุม คปสจ. 4. ประชุมเจ้าหน้าที่ระดับอำเภอ /ตำบล 5. เฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรค 6. สื่อสารแจ้งเตือนเจ้าหน้าที่/ภาคีเครือข่าย/ประชาชน 7. พบผู้ป่วยแจ้งจังหวัดตลอด 24 ชั่วโมง/ดำเนินงานป้องกันควบคุมโรค ภายใน 3 ชม.

  17. แนวทางการดำเนินงาน ปี 2556 1. กำหนดเป้าหมายการดำเนินงานให้ชัดเจน 2. ตรวจสอบความครอบคลุมการได้รับวัคซีน ในกลุ่มเป้าหมายทุกเดือน 3. บริหารวัคซีน/ระบบลูกโซ่ความเย็น 4. เฝ้าระวังภาวะ AEFI /ติดตามเยี่ยมบ้านในกลุ่มพิเศษ 5. ประเมินมาตรฐานการดำเนินงานปีละ 2 ครั้ง (ตามแบบฟอร์มกรมควบคุมโรค)

  18. ศรีสะเกษแดนปราสาทขอม หอมกระเทียมดี มีสวนสมเด็จ เขตดงลำดวน หลากล้วนวัฒนธรรม เลิศล้ำสามัคคี สวัสดี

More Related