230 likes | 370 Views
ยุทธศาสตร์พัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10. สำนักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. กันยายน 2550. สภาพทั่วไป. พื้นที่ 105.5 ล้านไร่ เป็น 1 ใน 3 ของ ประเทศ เป็นที่ราบลอนคลื่น มีพื้นที่เกษตร 57.9 ล้านไร่
E N D
ยุทธศาสตร์พัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือยุทธศาสตร์พัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 สำนักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กันยายน 2550
สภาพทั่วไป • พื้นที่ 105.5 ล้านไร่ เป็น 1 ใน 3 ของ • ประเทศ เป็นที่ราบลอนคลื่น • มีพื้นที่เกษตร 57.9 ล้านไร่ • สภาพดินเป็นดินร่วนปนทราย • 75.7% เป็นดินขาดอินทรียวัตถุ • พื้นที่ป่าไม้ ประมาณ 17.5 ล้านไร่ • อยู่บริเวณขอบของภาค • มีลุ่มน้ำหลัก 3 ลุ่มน้ำ : โขง ชี มูล • ปริมาณฝนเฉลี่ย 1,400 มม./ปี • ถนนมิตรภาพเป็นเส้นทางหลักเชื่อม • กรุงเทพ มีทางรถไฟ 2 สายหลัก คือ • กทม.-อุบล และ กทม.-หนองคาย
สถานะและแนวโน้มการพัฒนาด้านเศรษฐกิจสถานะและแนวโน้มการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ • GRP 7.9 แสนล้านบาท (10.1 %GDP ลดจาก 10.6% ปี45) • ขยายตัว(45-49) ต่ำ 4.4%ต่อปี (ประเทศ 5.7%ต่อปี) • กลุ่มที่ขยายตัวสูงคือกลุ่มขอนแก่น(5.8%)จากมีการลงทุนมาก • โครงสร้างการผลิตหลัก • เกษตร 21.5% • การค้า 21.1% • อุตสาหกรรม 14.9% • Per capita GRP 35,877 บาท(ต่ำกว่าประเทศ 3.3 เท่า) • ฐานเศรษฐกิจหลัก • นครราชสีมา 17.2% • ขอนแก่น 13.4% • อุบลราชธานี 8.0% • อุดรธานี 7.4% • การจ้างงาน 11.2 ล้านคน (ว่างงาน 1.9% ประเทศ 1.5%)
ข้าวโพด ยาง ไม้ผล อ้อย ข้าว มัน ยาง ปศุสัตว์ การผลิตด้านเกษตร แหล่งผลิตหลัก > 40% ข้าว อีสานล่างและกลาง มัน โคราช ชัยภูมิ บุรีรัมย์ อ้อย ขอนแก่น อุดร กาฬสินธุ์ ยางพารา หนองคาย เลย อุดร ข้าวโพด โคราช ชัยภูมิ เลย • มูลค่า 1.7 แสนล้านบาท = 20.3% ประเทศ • พืช 82% สัตว์ 13.4% • ข้าว(26.2%) = 45.1% ประเทศ • มัน (5.6%) = 53.8% ประเทศ • อ้อย (4.0%) = 32.9% ประเทศ • ยางพารา(4.1%) = 3.7% ประเทศ • โค(3.0%) = 40.3% ประเทศ • ขยายตัว(45-49) 1.1%ต่อปี (ประเทศ 2.5%) • เป็น Source of growth รองจาก อุตฯ • จ้างงาน 6.4 ล้านคน (56.5% ของภาค) • ผลิตภาพการผลิตต่ำกว่าประเทศ • มีชลประทาน 14.1% • งบพัฒนาแหล่งน้ำ ปี49 =1.5 พันล้าน(34.8%ประเทศ) 25บาท/ไร่ (ประเทศ 32 บาท/ไร่) • แนวโน้ม: • พืชพลังงาน และยาง จะเข้ามาแทนที่พืชอาหาร • คนในภาคเกษตรลดลง ใช้เครื่องจักรมากขึ้น
การผลิตอุตสาหกรรม % growth มูลค่า 1.1 แสนล้านบาท = 4.1% ของประเทศ ขยายตัว 10.4% ต่อปี (ประเทศ 7.5%) จ้างงาน1.0ล้านคน (9.0% ของภาค) เป็น Source of Growth หลักของภาค อุตฯ อาหาร 59.8% เครื่องแต่งกาย 11.1% อิเลคทรอนิกส์ 5.3% ชิ้นส่วนยานยนต์ 0.5% จำนวนโรงงานขยายตัวเร็วในกลุ่ม ขอนแก่น(1.3%) อุดร (1.2%) โคราช (0.8%) %share • แนวโน้ม • เอทานอล 41.7% ของประเทศ (4.7 ล้านลิตร/วัน) • ต้องการมัน เพิ่ม 4.8 ล้านตัน/ปี • สัดส่วนอุตฯ อาหารจะลดลง อิเลคทรอนิกส์ เครื่องแต่งกาย • ชิ้นส่วนยานยนต์ เข้ามาแทนที่ (growth มากกว่า 10%) • ยังกระจุกตัวแนวถนนมิตรภาพ(นม-ขก-อด) อาหารเครื่องดื่ม ชิ้นส่วนยานยนต์ เครื่องแต่งกาย อิเลคทรอนิค เอทานอล
เวียงจันทร์ ด้านการค้า ไซยะบุรี • มูลค่า1.7 แสนล้านบาท(21.1% GRP) ค้าปลีก 69.2% ค้าส่ง 27.9% ซ่อมแซม 2.9% • จ้างงาน 1.4 ล้านคน(12.1%ของภาค) • ส่งออก: ข้าว ผลิตภัณฑ์มัน น้ำตาล สิ่งทอ อิเลคทรอนิกส์ นำเข้า: ยานยนต์ น้ำมัน วัสดุก่อสร้าง (40% การค้า) • การค้าชายแดน • มูลค่า 3.4 หมื่นล้านบาท • ที่ผ่านมาขยายตัว15.2% และจะขยายตัวต่อเนื่อง • การค้า 60% มาจากด่านหนองคาย และมุกดาหาร • สินค้าออก 60% มาจากนอกภาค(น้ำมัน %วัสดุก่อสร้าง เครื่องไฟฟ้า ยานยนต์ ของอุปโภค) • สินค้าเข้า ไม้แปรรูป 31.1% แร่ทองแดง 35% ท่าแขก-วินด์(เวียดนาม) สะหวันนะเขต-ดานัง(เวียดนาม) แม่สอด EWEC ปากเซ อะลองเวง โอเสม็ด • ข้อจำกัดด้านการค้า • การผ่านแดนยังไม่รวดเร็ว • ขาดสิ่งอำนวยความสะดวกบริเวณด่าน • กิจกรรมต่อเนื่องกับการค้ายังมีน้อย
ประเภทและแหล่งท่องเที่ยวประเภทและแหล่งท่องเที่ยว เชื่อมเพื่อนบ้าน เชิงนิเวศ ก่อนประ วัติศาสตร์ อารยธรรมขอม การท่องเที่ยว • สร้างรายได้ 3.3 หมื่นล้านบาท (48% มาจากเที่ยวปราสาทขอมและชายแดนเพื่อนบ้าน คน 27.4% เที่ยวปราสาทขอม 19.8% เที่ยวชายแดนเพื่อนบ้าน) • นักท่องเที่ยวเพิ่ม 6.7% ต่อปี รายได้โต 9.6% ต่อปี (ใช้จ่าย/หัว770.4 บาท/วัน -วันพัก 2.6 วัน ประเทศ 2,300 บาท/วัน- พัก 2.9 วัน) • ท่องเที่ยวเชิงนิเวศขยายตัวเร็ว (28.1%) • จ้างงาน 0.5 ล้านคน(3.9%) • ข้อจำกัดด้านท่องเที่ยว • แหล่งท่องเที่ยวแม่เหล็กมีน้อย อยู่ห่างไกลกัน • ขาดความน่าสนใจ(ไม่สร้าง Story) • ขาดบริการพื้นฐานอำนวยความสะดวก
ด้านสังคม ประชากร/แรงงาน โครงสร้าง ประชากร ปี 2549 ปี 2555 • ปัจจุบันมีคน 21.4 ล้านคน (เด็ก 25.4% แรงงาน 64.2% ผู้สูงอายุ10.4% ) • ปี 2555 สัดส่วนแรงงานจะเริ่มลดลง (เหลือ 64.0% เด็ก 23.2% ผู้สูงอายุ 12.8% ) • อัตราพึ่งพิงสูงเป็น 56.6% • ปัจจุบัน มีแรงงาน 11.6 ล้านคน จบประถม 68% • ผลิตภาพแรงงานต่ำ โตเฉลี่ย 2.0% ต่อปี ( 34,480 บาท -ประเทศ 1.2 แสนบาท) • การจ้างงาน 11.2 ล้านคน ( ว่างงาน 1.7% ) • รายได้/ครัวเรือน 11,526 บาท/เดือน (ปท. 17,122) • การอพยพปีละ 4.6 % (~ 9 แสนคน) • แรงงานนอกระบบ 77.9% (ปท. 61.5%) หมายเหตุ* ประกอบด้วย โรงแรม ศึกษา สาธารณสุข บริการชุมชน ลูกจ้างครัวเรือน
ด้านการศึกษา • ระดับการศึกษา • คนมีการศึกษาเฉลี่ยระดับประถม (7.2 ปี –ประเทศ 8.2 ปี) • กลุ่มโคราชคนมีปีศึกษาน้อยสุด 7 ปี • คุณภาพการศึกษาต่ำ • ผลสัมฤทธิ์เฉลี่ยต่ำสุด 36.1% (ประเทศ40.3%)กลุ่มมุกดาหารต่ำสุด 35.3 % • โรงเรียนตกเกณฑ์ 66% (ปท. 65%) โรงเรียนตกเกณฑ์มากสุดที่หนองบัวลำภู 73% • บริการการศึกษาไม่ทั่วถึง • โอกาสการศึกษาต่ำ 87.4% (ประเทศ 91.3%) เนื่องจากถูกทอดทิ้ง (รุนแรงในพื้นที่ หนองบัวลำภู และยโสธร) • เด็กไม่ได้รับการศึกษาอีก 2 แสนคน กระจุกตัวมากสุดที่สุรินทร์ 12 % • ค่าใช้จ่ายของรัฐ 3,038 บาท/คน สูงกว่าประเทศ (3,001 บาท/คน)
สาธารณสุข • สุขภาวะต่ำกว่ามาตรฐานประเทศ • สัดส่วนแพทย์และพยาบาลน้อย • กระจุกตัว ที่เมืองใหญ่ ขก(18%) โคราช(16%) • อัตราเจ็บป่วย 15.6% • คน 39% มีพฤติกรรมบริโภคเสี่ยงต่อสุขภาพ (อยู่ในเมืองใหญ่) • งบประมาณต่อหัวต่ำ 1,958 บาท (ประเทศ 2,212 บาท) คน ชุมชนและสังคม • คน 39% มีพฤติกรรมการบริโภคขาดหลักเศรษฐกิจพอเพียง • คนจนลดลงแต่ยังมากที่สุด 3.6ล้านคน(เมือง 0.3 ชนบท 3.3 กระจุกตัวที่บุรีรัมย์ 13.4%) • ผู้ด้อยโอกาส 59,771คน (กระจุกที่ ศรีสะเกษ 11.5%) ธรรมาภิบาล • สัดส่วนเรื่องร้องเรียนรัฐมากสุด 19% • (ปท. 13%) • ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้งต่ำสุด 67% ปท.73%
ป่าเสื่อมโทรม พื้นที่ดินเค็ม ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • ป่าไม้เพิ่มปีละ~ 2 แสนไร่ จากปี 43 เป็น 17.5 ล้านไร่ (16.6% ของภาค ) • ป่าเสื่อมสภาพ 8.1 ล้านไร่ • 48% อยู่กลุ่มโคราช ชัยภูมิ บุรีรัมย์ สุรินทร์ • 14.6% กลุ่มอุบลราชธานีฯ • 14.2% กลุ่มสกลนคร • ดินเค็มกระจายเพิ่มขึ้น 1.1 ล้านไร่ จากปี 2547 • (30% อยู่กลุ่ม โคราช. 25% กลุ่มขอนแก่น) • ขาดแคลนน้ำเกษตร (เก็บได้ 17% ชลประทาน 14.1% ชี เก็บ 34.5%) • แล้งซ้ำซาก 26.6 ล้านไร่ (50% อยู่ในกลุ่มโคราช) • ขาดประปาหมู่บ้าน 9,902 แห่ง อยู่ในกลุ่มโคราชและอุบลฯ • คุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์ดี-พอใช้ ยกเว้น ลำตะคองตอนล่าง • ขยะมูลฝอยชุมชน เพิ่มขึ้น 2.86% จากปี 2546 พันไร่
บริบทการเปลี่ยนแปลง และผลกระทบ • เศรษฐกิจภาคอื่น • ขยายตัวสูงกว่าอีสาน • (4.4% กับ 5.7%) • แรงงานอพยพ • ~ 8-9 แสนคน/ปี • เหลือเด็ก/คนแก่ • ขาดผู้ดูแล • ครอบครัว/ชุมชน • อ่อนแอ • โครงสร้าง ปชก.เปลี่ยน • ปี55 เด็ก/แรงงานลด • คนแก่เพิ่ม • อัตราพึ่งพิงเกิน 50% • แต่ผลิตภาพแรงงาน • ยังต่ำ • คชจ./รายได้ เพิ่ม • การออมลดลง • ไม่มั่นคง • ความยากจน • เอทานอล 17 แห่ง • (4.7 ล้านลิตร/วัน) • มันส่งออกโต 26.6% • (4.3 หมื่นล้านบาท) • ยางส่งออกเพิ่ม 38% • ต้องการมันเพิ่ม • (4.8 ล้านตัน/ปี) • อ้อย ยาง เพิ่ม • การใช้ที่ดินเปลี่ยน • การทำนาลดลง • ป่ายาง ไร่มัน อ้อยเพิ่ม • ความมั่นคงด้าน • อาหารลดลง • ความหลากหลาย • ทางชีวภาพลด • อุตสาหกรรม • ขยายตัว 10-20% • (labor intensive) • แรงงานออกจาก • ภาคเกษตร • พึ่งเครื่องจักรมาก • ทำนาหว่าน • ผลผลิตต่ำ • ต้นทุนผลิตสูง • ความมั่นคงด้าน • อาหารลด • การค้ากับเพื่อนบ้าน • ขยายตัว 14.8% • EWECเสร็จกว่า50% • เวียดนามโตเร็ว • การลงทุนตาม • ชายแดนเพิ่ม • ย้ายฐานเข้าเพื่อนบ้าน • เคลื่อนย้ายสินค้า/คน • แรงงาน/ยาเสพติด • ชุมชนชายแดนโต • โรคติดต่อเพิ่ม • ความไม่ปลอดภัย • ธรรมชาติแปรปรวน • ทรัพยากรเสื่อมสภาพ • การเกษตรเสี่ยงภัย • ผลิตภาพการผลิตต่ำ • เกิดความไม่มั่นคง • ด้านรายได้ • ด้านอาหาร • ความยากจน
รายจ่ายลงทุนภาครัฐ และโครงการลงทุนใหญ่ๆ • รายจ่ายลงทุนต่อหัวต่ำกว่าค่าเฉลี่ยประเทศ โดยเฉพาะเกษตร • โครงการพัฒนาขนาดใหญ่ 5 ปี ที่ผ่านมา • ขยายถนน 304[ ปักธงชัย-แหลมฉบัง ] เป็น 4 ช่องจราจร • ขยายถนน EWEC เป็น 4 ช่องจราจร 179 กม. • สะพานข้ามโขง ที่มุกดาหาร
ศักยภาพของพื้นที่ • มีพื้นที่ทำเกษตร 40% ของประเทศ เป็นแหล่งผลิตข้าวหอมชั้นดี มีพื้นที่เหมาะสมกว่า 2 ล้านไร่ (บริเวณทุ่งกุลาฯ) มีสภาพอากาศเหมาะกับปศุสัตว์ โค ไก่ สุกร • เป็นฐานอุตสาหกรรมเกษตร (ข้าว น้ำตาล ผลิตภัณฑ์มัน ) ของประเทศ • ตั้งอยู่กลางกลุ่ม GMS มีถนน EWEC เชื่อมถึงเวียดนาม และมีจุดค้าขายกับเพื่อนบ้านรอบทิศ (มุกดาหาร หนองคาย นครพนม อุบลราชธานี สุรินทร์) • แหล่งท่องเที่ยวมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว (ปราสาทขอม ซากไดโนเสาร์) • มีเกลือหินสำรอง 18 ล้านล้านตัน โปแตส 2,500 ล้านตัน แร่เหล็ก 27 ล้านตัน • โครงข่ายถนนทั่วถึงทั้งภาค จุดแข็ง • คน 16.8% ยากจน และ 3.8 ล้านคนมีปัญหาสุขภาพ และเสพสิ่งบั่นทอนสุขภาพ • แรงงานไร้ฝีมือ การศึกษาระดับประถม คุณภาพการศึกษาต่ำ ผลิตภาพแรงงานต่ำ • ระทางไกลจาก Gate Way (ESB) ทำให้เสียบเปรียบค่าขนส่งสำหรับ อุตฯ ส่งออก • ทรัพยากรป่าเสื่อมโทรม ดิน และน้ำไม่เอื้ออำนวย • ขาดระบบชลประทาน มีเพียง 14.7% การผลิตต้องขึ้นกับธรรมชาติ • แหล่งท่องเที่ยวดึงดูดได้เฉพาะกลุ่ม จุดอ่อน
ศักยภาพของพื้นที่ (ต่อ) • การขยายโอกาสการศึกษา 12 ปีจะช่วยเพิ่มขีดความสามารถของคนและแรงงานของภาคและประเทศ • กระแสเศรษฐกิจพอเพียง ช่วยให้คนหันมารู้จักตนเอง และมีความรอบคอบมากขึ้น • นโยบายลดการพึ่งพาพลังงานจากภายนอกและส่งเสริมการใช้แก๊สโซฮอล เพิ่มโอกาสการผลิตพืชพลังงานทดแทน เช่น อ้อย มันสำปะหลัง • จีนมุ่งอุตสาหกรรม ทำให้การพึ่งตนเองด้านเกษตรลด ไทยจึงมีโอกาส • ข้อตกลงเขตการค้าเสรี ไทย-จีน ไทย-ญี่ปุ่น และไทย-อนุภาคลุ่มน้ำโขง ก้าวหน้าดี จะเปิดโอกาสด้านการค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว โอกาส • FTA ออสเตรเลีย ทำให้ปศุสัตว์ต้องปรับตัว • ความไม่ปลอดภัย จากการย้ายฐานยาเสพติดมาชายแดนอีสาน • โรคติดต่อ จากการเคลื่อนย้ายแรงงานและหญิงบริการจากเพื่อนบ้าน • สินค้าราคาถูกจากจีนแย่งตลาดมากขึ้น • การสร้างเขื่อนในประเทศจีน ทำให้ระดับน้ำในแม่น้ำโขงขึ้นลงผิดปกติ กระทบระบบนิเวศน์ลำน้ำสาขาในภาค • ภาวะแปรปรวนของธรรมชาติ ให้การผลิตเสียหายการเกษตร ภัยคุกคาม
บทบาทและทิศทาง การพัฒนาภาค หนองคาย เลย นครพนม อุดรธานี สกลนคร หนองบัวลำภู แหล่งท่องเที่ยวยุคก่อนประวัติศาสตร์ ขอนแก่น มุกดาหาร กาฬสินธุ์ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด อำนาจเจริญ ยโสธร ชัยภูมิ อุบลราชธานี ศรีสะเกษ นครราชสีมา สุรินทร์ บุรีรัมย์ ประตูการค้ากับ ประเทศเพื่อนบ้าน ประตูการค้ากับ ประเทศเพื่อนบ้าน • เป็นฐานผลิตอาหารและ พืชพลังงานทดแทนของประเทศ(อีสานกลาง /ล่าง ) เพื่อความมั่นคงด้านอาหารและรายได้เกษตรกร • เป็นฐานอุตสาหกรรมอาหารและเอธานอลของประเทศ (กลุ่ม นม. ขก. อด.) เพื่อรักษาฐานรายได้เดิมและสร้างฐานใหม่ให้กับภาค • เป็นประตูการค้า การท่อง -เที่ยวเชื่อมโยงกับอินโดจีน (กลุ่มหนองคาย/มุก/และอุบล) • เป็นแหล่งท่องเที่ยวและศึกษาทางโบราณคดี อารยธรรมขอม และยุคก่อนประวัติศาสตร์ (อีสานล่าง/กลาง) เนื่องจากเป็นเอกลักษณ์ และมีเฉพาะอีสาน ไม้ผล ยางพารา พืชผัก เมล็ดพันธุ์ ไม้ผล ยางพารา พืชผัก เมล็ดพันธุ์ ทางหลวง เส้นทางรถไฟ พื้นที่อนุรักษ์ พื้นที่อนุรักษ์ ประตูการค้ากับ ประเทศเพื่อนบ้าน ประตูการค้ากับ ประเทศเพื่อนบ้าน อุตสาหกรรมหลักของภาค อุตสาหกรรมหลักของภาค พื้นที่อนุรักษ์/แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ พื้นที่อนุรักษ์/แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ประตูการค้ากับ ประเทศเพื่อนบ้าน ประตูการค้ากับ ประเทศเพื่อนบ้าน แหล่งผลิตข้าวหอมมะลิ แหล่งผลิตข้าวหอมมะลิ แหล่งท่องเที่ยวอารยธรรมขอม แหล่งท่องเที่ยวอารยธรรมขอม ปศุสัตว์/ยางพารา/ไม้ยืนต้น ปศุสัตว์/ยางพารา/ไม้ยืนต้น พื้นที่อนุรักษ์ พื้นที่อนุรักษ์ พื้นที่อนุรักษ์ พื้นที่อนุรักษ์ ทางหลวง เส้นทางรถไฟ
เป้าหมาย • เพิ่มอัตราการขยายตัวระดับใกล้เคียงกับประเทศ เน้นพื้นที่มีศักยภาพสูง • แก้ปัญหาความยากจนให้เหลือต่ำกว่า ร้อยละ 10 • ลดต้นทุนด้าน Logistic เพื่อเพิ่มความสามารถแข่งขันด้านการอุตสาหกรรม เศรษฐกิจ • ยกระดับคุณภาพชีวิตให้ได้เกณฑ์มาตรฐาน • จัดให้เด็ก 2.2 แสนคนได้เรียนหนังสือ • ยกระดับโรงเรียน 66% ที่ไม่ได้มาตรฐานให้ดีขึ้น • ลดอัตราตายทารกเหลือ 7.6 (ค่าเฉลี่ยประเทศ) • สร้างสวัสดิการสังคมให้เด็กและผู้ถูกทอดทิ้ง 5.9 หมื่นคน • ลดปัญหาร้องเรียน และสร้างสภาพแวดล้อมชุมชน ครอบครัวให้น่าอยู่ สังคม • เพิ่มพื้นที่ป่าไม้ 15.9 ล้านไร่ให้ได้ 25% ของพื้นที่ • จัดให้มีระบบประปาทุกหมู่บ้าน (9,924) • พัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการเกษตรให้เต็มศักยภาพพื้นที่ (อีก 5 แสนไร่) • ฟื้นฟูดินเสื่อมสภาพ 23.8 ล้านไร่ ลดพื้นที่ผลกระทบดินเค็ม 31 ล้านไร่ • พัฒนาสภาพแวดล้อมให้น่าอยู่ ท&สวล
ยุทธศาสตร์การพัฒนา วิสัยทัศน์:“คน และชุมชนเข้มแข็ง สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน รู้ทันการปลี่ยนแปลง เศรษฐกิจมีเสถียรภาพเป็นธรรม และทรัพยากรสมบูรณ์ ภายใต้การบริหารจัดการที่มีธรรมาภิบาล” ยุทธศาสตร์ที่ 1: สร้างคนให้มีคุณภาพ แนวทางหลัก • ด้านความรู้: • ยกมาตรฐานโรงเรียนตกเกณฑ์ทุกแห่ง โดยพัฒนาคุณภาพครู การสอน • สนับสนุนอุปกรณ์การเรียนการสอนให้พร้อม • ส่งเสริมการเรียนสายอาชีพ • สนับสนุน อปท.จัดงบสนับสนุนเด็ก 2.2 แสนคน ให้ได้เรียนในระบบ • ด้านสุขภาวะ: • รณรงค์การดูแลรักษาสุขภาพ และปรับพฤติกรรมเสี่ยง • กระจายแพทย์และเครื่องมือลงพื้นที่ชนบทให้สมดุล • พัฒนาระบบส่งต่อผู้ป่วยให้รวดเร็ว • ด้านคุณธรรม: • เร่งสร้างวินัยในบ้าน/ที่ทำงาน/โรงเรียน • ปลูกฝังค่านิยมการทำงานเพื่อส่วนรวม • เร่งเผยแพร่แก่นศาสนาให้เข้าใจ รวมถึงหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง • สร้างระบบ Social Sanction บังคับใช้กฎหมายให้จริงจัง • ยกระดับคุณภาพชีวิต: • สนับสนุน อปท จัดบริการการศึกษาก่อนวัยเรียน • ประปาหมู่บ้านให้ทั่วถึงอีก 9,902 แห่ง • สร้างระบบสวัสดิการชุมชนดูแลคนในชุมชนร่วมกัน
ยุทธศาสตร์ที่ 2: สร้างเศรษฐกิจและสังคมฐานรากให้เข้มแข็ง แนวทางหลัก • สร้างศักยภาพโอกาสการมีงานทำ: โดย • ส่งเสริมทำเกษตรผสมผสาน การปลูกไม้ยืนต้นในไร่นา • จัดสรรสิทธิทำกินในที่ดินให้เกษตรกรยากจนทำเกษตรประณีต • จัดอบรมทักษะการประกอบอาชีพ ทั้งเกษตร และนอกเกษตร • ส่งเสริมการดำเนินชีวิตตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง • สร้างชุมชนให้เข้มแข็ง: โดย • สนับสนุนงบประมาณให้ชุมชนดำเนินการร่วมกันแก้ปัญหาด้วยตนเอง • พัฒนาต่อยอดการผลิตและการตลาดผลิตภัณฑ์ชุมชนให้เป็นวิสาหกิจชุมชน • สนับสนุนความรู้ เทคโนโลยีการผลิตตามPositionที่ชุมชนร่วมกันกำหนด • สร้างระบบสวัสดิการชุมชนเพื่อดูแลคนในชุมชนร่วมกัน • สนับสนุนให้เกิดการทำงานร่วมกัน ระหว่าง อปท. กับชุมชน • สร้างภาวะแวดล้อมให้น่าอยู่โดย • ส่งเสริมกระบวนการประชาธิปไตยในชุมชนให้เกิดกระบวนการร่วมคิดร่วมทำ
ยุทธศาสตร์ที่ 3: ฟื้นฟูทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมให้สมบูรณ์ แนวทางหลัก • เพิ่มพื้นที่ป่าให้ได้ 15.9 ล้านไร่ หรือร้อยละ 25 ของพื้นที่ภาค โดย • สนับสนุนการปลูกป่าเสริมในป่าสงวนเสื่อมโทรม ที่ สปก. และป่าชุมชน • สนับสนุนการดูแลควบคุมพื้นที่เขตป่าอนุรักษ์ และป่าสงวนเสื่อมโทรม เพื่อให้ป่าฟื้นตัวตามธรรมชาติ • เร่งดำเนินการในพื้นที่อีสานตอนล่าง และตอนบนของภาค ที่มีปัญหารุนแรง • ส่งเสริมทำเกษตรอินทรีย์ เพื่อพื้นฟูดิน ยับยั้งการแพร่กระจายดินเค็ม และยกระดับคุณภาพสินค้า • พัฒนาแหล่งน้ำให้ทั่วถึง โดย • พัฒนาแหล่งเก็บน้ำเพื่อการเกษตรเดิมให้เก็บได้มากขึ้น และจัดระบบชลประทานให้เต็มศักยภาพ • จัดหาแหล่งเก็บน้ำใหม่ที่มีศักยภาพตามที่กรมชลประทานระบุ 7.1 ล้านไร่ (โดยเฉพาะพื้นที่ลุ่มน้ำมูลที่ยังมีสัดส่วนการกักเก็บต่ำ) • เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการทรัพยากรน้ำแบบลุ่มน้ำ เพื่อแก้ปัญหาน้ำท่วม/ขาดน้ำ • ส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคี เพื่อสนับสนุนให้ อปท.และ ชุมชน สามารถร่วมมือกันดูแลและรักษาทรัพยากรฯได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ 4: เพิ่มศักยภาพการแข่งขันด้านเศรษฐกิจ แนวทางหลัก • ยกมาตรฐานและประสิทธิภาพการผลิตการเกษตร • ปรับโครงสร้างการผลิตไปสู่สินค้ามูลค่าเพิ่มสูง (อีสานบนผลิต ยาง เมล็ดพันธุ โค/ กลางและล่างผลิตข้าว พืชพลังงานทดแทน ปศุสัตว์) • ส่งเสริมพื้นที่ชลประทาน(หนองหวาย ลำปาว น้ำอูน ลำตะคอง) เป็นเขตเกษตรก้าวหน้า ผลิตสินค้ามูลค่าสูง (เมล็ดพันธุ์พืช ประมง สมุนไพร ฯลฯ) • เร่งผลิตเมล็ดพันธุ์ดี(ข้าว มัน)ให้เพียงพอ เพื่อรักษาความมั่นคงด้านอาหาร • ส่งเสริมผลิตสินค้าปลอดภัย ปลอดสารพิษ • พัฒนาระบบชลประทานสู่พื้นที่การเกษตรให้เต็มศักยภาพ(7.1ล้านไร่) • สนับสนุนสถาบันการศึกษาในภาคเร่งวิจัยพันธุ์พืช สัตว์(มัน ข้าว ยาง อ้อย) และเทคโนฯ การผลิต • เพิ่มคุณภาพผลิตภัณฑ์และประสิทธิภาพการผลิตด้านอุตสาหกรรม • สนับสนุนการเปลี่ยนเครื่องจักรเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ/ต่อยอดผลิตภัณฑ์เดิม(ข้าว มัน อ้อย) • สนับสนุนสถาบันการศึกษา เร่งวิจัย พัฒนาเกษตรแปรรูป/ต่อยอดผลิตภัณฑ์ • ร่วมกับภาคเอกชนจัดอบรมทักษะฝีมือแรงงาน • สร้างถนนเชื่อมสู่อีสาน(Motor Way: บางปะอิน -โคราช) และขยาย EWEC เป็น 4 ช่องจราจรตลอด • พัฒนาระบบบริการขนส่งทางราง (ตั้ง ICD หรือ CY ที่เมืองหลัก ขอนแก่น นครราชสีมา มุกดาหาร) • ส่งเสริม Clustering อุตฯ สิ่งทอเครื่องแต่งกาย(ขก.นม.ชย) อุตฯ อาหาร(นม. ขก. อด.กส.) และ อุตฯ ชิ้นส่วนยานยนต์(นม.)
ยุทธศาสตร์ที่ 4: เพิ่มศักยภาพการแข่งขันด้านเศรษฐกิจ(ต่อ) แนวทางหลัก • เพิ่มศักยภาพด้านท่องเที่ยว • ฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยวหลักให้มีสภาพสมบูรณ์และน่าสนใจ สร้าง Story และ Studio ก่อนเข้าชม • ขอนแก่น กาฬสินธุ์ อุดร เป็นศูนย์ท่องเที่ยวก่อนประวัติศาสตร์(ไดโนเสาร์-บ้านเชียง) • โคราช ชัยภูมิ เลย เป็นศูนย์ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ • บุรีรัมย์ เป็นศูนย์ท่องเที่ยวอารยธรรมขอม • อุบลราชธานี มุกดาหาร หนองคาย เป็นฐานท่องเที่ยวเชื่อมกับเพื่อบ้าน • พัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวกในแหล่งท่องเที่ยวให้ได้มาตรฐาน • ร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านทำการท่องเที่ยวร่วมกัน เชื่อมโยงมรดกโลก (หลวงพระบาง-บ้านเชียง- เว้-นครวัด) • ร่วมมือทางเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน • พัฒนาเมืองและด่านชายแดนที่มุกดาหาร นครพนม ช่องเม็ก ให้มี warehouse, truck terminalและบริการพื้นฐานอื่น • เร่งรัดการพัฒนาสนามบินสะหวันนะเขตให้เป็นสนามบินร่วมไทย-ลาว (Domestic ของไทย) • ปรับระบบการตรวจผ่านคน และสินค้า ให้รวดเร็วขึ้น • เร่งแก้ปัญหาการดำเนินงานตามโครงการ Contract Farming • ส่งเสริมเอกชนหรือการนิคมลงทุนสร้าง Distribution Center ที่มุกดาหาร
ยุทธศาสตร์ที่ 5: สร้างธรรมาภิบาลการบริหารจัดการภาครัฐ แนวทางหลัก • สนับสนุนชุมชนดำเนินงานในรูปแบบประชาคม • สนับสนุนภาคประชาชน/ชุมชนให้มีบทบาทและทำงานกับภาครัฐมากขึ้น • ส่งเสริมการทำงานของภาครัฐในรูปแบบคณะกรรมการหลายภาคี • เร่งโอนภารกิจให้ อบต./ชุมชน ดำเนินงานเอง • บังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจังและลงโทษสูงสุดตามที่กฎหมายกำหนด