310 likes | 438 Views
ข้อสังเกตที่พบจากการตรวจ ระบบการควบคุมคุณภาพ ในระดับงานสอบบัญชี (engagement level). 5 มกราคม 2555. agenda. แนวทางการประเมินคุณภาพในระดับงานสอบบัญชี ผลการประเมินคุณภาพในระดับงานสอบบัญชี ประเด็นที่พบมากในการตรวจสอบคุณภาพในระดับงานสอบบัญชี. 1.แนวทางการประเมินคุณภาพใน ระดับงานสอบบัญชี.
E N D
ข้อสังเกตที่พบจากการตรวจระบบการควบคุมคุณภาพในระดับงานสอบบัญชี (engagement level) 5 มกราคม 2555
agenda • แนวทางการประเมินคุณภาพในระดับงานสอบบัญชี • ผลการประเมินคุณภาพในระดับงานสอบบัญชี • ประเด็นที่พบมากในการตรวจสอบคุณภาพในระดับงานสอบบัญชี
1.แนวทางการประเมินคุณภาพใน ระดับงานสอบบัญชี
1. แนวทางการประเมินคุณภาพในระดับงานสอบบัญชี การแบ่งประเภทข้อบกพร่องที่พบจากการประเมิน • ข้อบกพร่องที่มีผลกระทบมาก ก. งบการเงินไม่เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีอย่างมีสาระสำคัญ แต่ผู้สอบบัญชียังคงแสดงความเห็นอย่างไม่มีเงื่อนไข หรือผู้สอบบัญชีแสดงความเห็นผิดประเภท หรือทำให้ผู้ใช้งบการเงินเข้าใจผิดในสาระสำคัญ • ข. ไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานการสอบบัญชีในส่วนที่มีสาระสำคัญ • ข้อบกพร่องที่ไม่เป็นสาระสำคัญ • ค. งบการเงินไม่เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีในส่วนที่ไม่มีสาระสำคัญ หรือเป็นข้อบกพร่องเชิงคุณภาพในการเปิดเผยข้อมูล • ง. ปฏิบัติตามมาตรฐานการสอบบัญชีโดยรวม แต่ยังมีข้อบกพร่องที่อยู่ในระดับยอมรับได้
1. แนวทางการประเมินคุณภาพในระดับงานสอบบัญชี ระดับการให้คะแนนผู้สอบบัญชี
2. ผลการประเมินคุณภาพในระดับ งานสอบบัญชี
2. ผลการประเมินคุณภาพในระดับงานสอบบัญชี • ตั้งแต่ ต.ค. 53 สำนักงานได้ตรวจสอบงานของผู้สอบบัญชีรวม 48 ราย (32%) จากผู้สอบบัญชีที่ได้รับความเห็นชอบทั้งสิ้น 148 ราย
2. ผลการประเมินคุณภาพในระดับงานสอบบัญชี ผู้สอบบัญชีส่วนใหญ่ผ่านการประเมินในระดับ 1 ประมาณ 42% ของผู้สอบบัญชีที่ได้รับการตรวจ อย่างไรก็ดี มีผู้สอบบัญชีที่ไม่ผ่าน 2 ราย
3. ประเด็นที่พบมากในการตรวจสอบคุณภาพในระดับงานสอบบัญชี
3. ประเด็นที่พบมากในการตรวจสอบคุณภาพในระดับงานสอบบัญชี • การวางแผนงานสอบบัญชี • การคำนวณ materiality เช่น • ไม่นำ materiality ใหม่ที่คำนวณจากตัวเลขสิ้นงวดมาใช้ (Ref: TSA 320, Para 12-14) • ไม่กำหนด materiality สำหรับการตรวจสอบกลุ่มบริษัท (Ref: TSA 600, Para 21-23) • การกำหนดขอบเขตการตรวจสอบไม่เหมาะสม เช่น • ไม่ได้นำผลการประเมินความเสี่ยง และ materiality • ไม่นำจุดอ่อนจากระบบ IC ไปกำหนดขอบเขตการตรวจสอบ (Ref: TSA 300, Para 8-10/ TSA 315, Para 20-24) • การวางแผนการตรวจสอบกลุ่มบริษัท (group audit) ไม่เพียงพอเช่น • มิได้ทำแผนการตรวจสอบของทั้งกลุ่มบริษัท • มิได้จัดทำกระดาษทำการเปรียบเทียบนโยบายบัญชีของบริษัทในกลุ่ม (Ref: TSA 600,Para 15-16)
3. ประเด็นที่พบมากในการตรวจสอบคุณภาพในระดับงานสอบบัญชี • Test of control • สรุปผลไม่สอดคล้องกับผลการทดสอบระบบ เช่น • พบข้อบกพร่องแต่ยังสรุปผลว่าระบบดี (Ref: TSA 330, Para 8-9) • ผู้สอบบัญชีเลือกตัวอย่างเพียง 2 รายการ และพบข้อผิดพลาด ก็ไม่ขยายขอบเขตการตรวจสอบ (Ref: TSA 330,Para 17)
3. ประเด็นที่พบมากในการตรวจสอบคุณภาพในระดับงานสอบบัญชี • Test of control • ทดสอบระบบควบคุมไม่เพียงพอ เช่น • ขอบเขตการตรวจสอบไม่ครอบคลุมทั้งปี หรือ • ไม่ครอบคลุมกลุ่มตัวอย่าง โดยไม่บันทึกเหตุผล หรือการใช้วิธีการอื่นทดแทน (Ref: TSA 330, Para 10 (ก),11) • เชื่อถือระบบบัญชีคอมพิวเตอร์โดยไม่ทดสอบ general computer control (Ref: TSA 315, Para 18,21)
3. ประเด็นที่พบมากในการตรวจสอบคุณภาพในระดับงานสอบบัญชี • Analytical review • ในการจดบันทึกผลจากการวิเคราะห์เปรียบเทียบ ไม่ได้ให้ข้อมูลที่เพียงพอต่อการสอบบัญชี (Ref: TSA 520, Para 5) • เชื่อเพียงคำชี้แจงของผู้บริหาร โดยไม่ verify หรือตรวจเอกสาร เพื่อยืนยันหรือสนับสนุน คำชี้แจงของผู้บริหาร (Ref :TSA 520, Para 5/ TSA 500, Para 9)
3. ประเด็นที่พบมากในการตรวจสอบคุณภาพในระดับงานสอบบัญชี • Substantive test and test of details • ขั้นตอนการวางแผนและการประเมิน IC กำหนดว่า ระดับความเสี่ยงสูง แต่ใน substantive test กำหนดระดับความเสี่ยงและขอบเขตการตรวจสอบไม่สอดคล้องกัน (Ref: TSA 330, Para 5) • การตรวจสอบยอดยกมาไม่เพียงพอเช่น ใช้เพียงวิธีเปรียบเทียบยอดยกมากับงบการเงินงวดก่อนว่าตรงกัน(Ref: TSA 510, Para 6)
3. ประเด็นที่พบมากในการตรวจสอบคุณภาพในระดับงานสอบบัญชี • Substantive test and test of details • ได้รับหนังสือยืนยันยอดเงินฝากธนาคารไม่ครบ และไม่พบการตรวจสอบว่าได้บันทึกข้อมูลภาระหนี้สิน และภาระผูกพันครบแล้ว (Ref: TSA 505, Para 7) • การตรวจสอบเงินลงทุนในหลักทรัพย์เพื่อค้าไม่เพียงพอ เช่น • ไม่ส่งหนังสือยืนยันยอดเงินลงทุน • ไม่สอบถามรายละเอียดอื่น ๆ เช่น ภาระผูกพัน (Ref: TSA 505, Para 7)
3. ประเด็นที่พบมากในการตรวจสอบคุณภาพในระดับงานสอบบัญชี • Substantive test and test of details • การตรวจสอบเอกสารเพื่อประกอบการ roll forward ลูกหนี้การค้า และสินค้าไม่เพียงพอ เช่น • ไม่มีการสุ่มตรวจสอบ source document • ไม่ตรวจ กับ stock card สิ้นงวด (Ref: TSA 330, Para 22 / TSA 501, Para 5)
3. ประเด็นที่พบมากในการตรวจสอบคุณภาพในระดับงานสอบบัญชี • Substantive test and test of details • การตรวจสอบ NRV ไม่เพียงพอและเหมาะสม เช่น • ไม่ได้ทดสอบ NRV ของวัตถุดิบทั้งที่ต้นทุนสินค้าคงเหลือสูงกว่า NRV ซึ่งเป็นข้อบ่งชี้ว่าต้นทุนวัตถุดิบอาจด้อยค่า • ไม่ได้คำนึงถึงต้นทุนในการผลิตต่อ (กรณี WIP และ RM) และ cost to sell (Ref: TSA 500, Para 6/TAS 2, Para 28 และ 32)
3. ประเด็นที่พบมากในการตรวจสอบคุณภาพในระดับงานสอบบัญชี • Substantive test and test of details • การทดสอบปันส่วนผลต่างต้นทุนสินค้าคงเหลือไม่เหมาะสม เช่น ต้นทุนจริงที่นำมาเปรียบเทียบกับต้นทุนมาตรฐานไม่ถูกต้อง (Ref: TSA 500, Para 6) • ไม่พบการทดสอบการคำนวณ unit cost และการทดสอบการปันส่วนค่าภาษีนำเข้าสินค้าและค่าใช้จ่ายในการนำเข้าเป็นต้นทุนของสินค้าคงเหลือ (Ref: TSA 500, Para 6 / TAS 2, Para 11,13)
3. ประเด็นที่พบมากในการตรวจสอบคุณภาพในระดับงานสอบบัญชี • Substantive test and test of details • การทดสอบความเพียงพอของค่าเผื่อสินค้าล้าสมัยหรือเสื่อมสภาพไม่เพียงพอ เช่น ไม่ประเมินความเหมาะสมของเกณฑ์การตั้งสำรอง โดยใช้เพียงวิธีสอบถามผู้บริหาร แต่ไม่ได้สุ่มทดสอบว่าสินค้าที่ค้างนานแต่ละช่วงอายุขายได้ในราคาเท่าใด (Ref: TSA 540, Para 17-18)
3. ประเด็นที่พบมากในการตรวจสอบคุณภาพในระดับงานสอบบัญชี • Substantive test and test of details • การกำหนดขอบเขตการตรวจตัดยอดไม่เหมาะสม เช่น • ไม่มีที่มาของการกำหนดขอบเขต • ไม่นำความเสี่ยงที่พบจากระบบการควบคุมภายใน และ lead-time มาพิจารณากำหนดขอบเขตและช่วงเวลา (Ref: TSA 330, Para 5,6) • การตรวจตัดยอดซื้อ-ขายต่างประเทศไม่เหมาะสม เช่น • ไม่พิจารณา international commercial term • ใช้อัตราแลกเปลี่ยนไม่สอดคล้องกับเงื่อนไขการส่งของ (Ref: TSA 500, Para 6)
3. ประเด็นที่พบมากในการตรวจสอบคุณภาพในระดับงานสอบบัญชี • Substantive test and test of details • การตรวจสอบประมาณการรายได้และต้นทุนงานก่อสร้างไม่เพียงพอ เช่น • ไม่พบการตรวจสอบสาเหตุที่ต้นทุนก่อสร้างเพิ่มขึ้นอย่างมีสาระสำคัญในระหว่างปี • ไม่ได้ประเมินโครงการที่ทำงานล่าช้าว่าต้องมีภาระค่าปรับหรือไม่ ทั้งที่ มีการปรับเพิ่มลดมูลค่างานและต้นทุนหลังจากที่งานเสร็จ หรือมีต้นทุนพัฒนาติดลบในช่วงท้ายของงานก่อสร้าง (Ref : TSA 500, Para 6,7)
3. ประเด็นที่พบมากในการตรวจสอบคุณภาพในระดับงานสอบบัญชี • Substantive test and test of details • พบเพียง analytical review ในภาพรวม โดยไม่พบ test of details บัญชีรายได้ และต้นทุน ตามที่ได้วางแผนไว้(Ref: TSA 330, Para 4-5)
3. ประเด็นที่พบมากในการตรวจสอบคุณภาพในระดับงานสอบบัญชี • Substantive test and test of details • การบันทึกรับรู้สินทรัพย์ การบันทึกมูลค่าเริ่มแรก และการคำนวณค่าเสื่อมราคา เช่น • ไม่ได้พิจารณาเงื่อนไขการขนส่งสินค้าและจุดที่ความเสี่ยงโอนมายังบริษัท • อัตราแลกเปลี่ยนที่ใช้แปลงค่ารายการซื้อไม่ถูกต้อง • วันที่เริ่มคำนวณค่าเสื่อมราคาไม่ถูกต้อง • ไม่พบการตรวจสอบการอนุมัติสั่งซื้อสินทรัพย์สำคัญ (Ref: TSA 500, Para 6/ TAS 16)
3. ประเด็นที่พบมากในการตรวจสอบคุณภาพในระดับงานสอบบัญชี • Substantive test and test of details • ผู้สอบบัญชีเห็นด้วยกับการให้เริ่มคิดค่าเสื่อมราคาอะไหล่ของเครื่องจักรทันทีที่อยู่ในคลัง (Ref: TAS 16, Para 55) • วิธีการคำนวณค่าเสื่อมราคาต่างกันในสินทรัพย์ถาวรประเภทเดียวกัน (Ref : TAS 16, Para 62)
3. ประเด็นที่พบมากในการตรวจสอบคุณภาพในระดับงานสอบบัญชี • Substantive test and test of details • การตรวจสอบรายการกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันไม่เพียงพอ เช่น ไม่ตรวจสอบและเปิดเผยการถือหุ้นไขว้ ลักษณะความสัมพันธ์ (Ref: TSA 550, Para 24)
3. ประเด็นที่พบมากในการตรวจสอบคุณภาพในระดับงานสอบบัญชี • Substantive test and test of details • การตรวจสอบการตัดจำหน่ายค่าเช่าจ่ายล่วงหน้าไม่เหมาะสม เช่น ไม่พิจารณาว่าการตัดค่าเช่าจ่ายล่วงหน้าให้สอดคล้องกับรายได้เป็นวิธีที่กำหนดในมาตรฐานการบัญชีหรือไม่(Ref: TAS 17, Para 33) • การพิจารณาการด้อยค่าของค่าความนิยมไม่เพียงพอ(Ref: TAS 36)
3. ประเด็นที่พบมากในการตรวจสอบคุณภาพในระดับงานสอบบัญชี • Substantive test and test of details • การตรวจการดำเนินงานต่อเนื่องไม่เพียงพอ เช่น ไม่พบการตรวจข้อสมมติที่ใช้ทำแผนธุรกิจบริษัทใหญ่มี support letter แต่ไม่พบหลักฐานการประเมินฐานะการเงินและผลการดำเนินงานของบริษัทใหญ่ (Ref: TSA 570, Para 6) • การตรวจสอบ JV เพื่อหาทุจริตไม่เพียงพอ เช่น • ไม่ได้ตรวจสอบ JV ระหว่างงวดและหลังวันสิ้นงวด • ไม่ได้สุ่มหารายการผิดปกติหรือเลือกเฉพาะรายการ JV ที่มีจำนวนสูงกว่า materiality (Ref: TSA 240, Para 32)
3. ประเด็นที่พบมากในการตรวจสอบคุณภาพในระดับงานสอบบัญชี • Substantive test and test of details • การตรวจรายการหลังวันที่ในงบดุลไม่เพียงพอ เช่น ตรวจไม่ถึงวันที่ในหน้ารายงาน และไม่ใช้วิธีการอื่น (Ref: TSA 560, Para 6-7) • การใช้ผลงานของบุคคลภายนอก เช่น ไม่ได้สอบทานความรู้ความสามารถผู้เชี่ยวชาญภายนอก และสมมติฐานในการประมาณการใช้ผลงานของผู้สอบบัญชีของบริษัทย่อยหรือร่วม แต่ไม่ได้พิจารณาระดับสาระสำคัญของบริษัทย่อยหรือร่วม (Ref: TSA 500, Para 8 และ TSA 220)
3. ประเด็นที่พบมากในการตรวจสอบคุณภาพในระดับงานสอบบัญชี • Substantive test and test of details • การจัดทำ summary of adjustment differences เช่น • ไม่ได้เสนอปรับปรุงรายการที่อาจส่งผลกระทบเชิงคุณภาพ • ไม่บันทึกรายการที่ไม่ได้ปรับปรุงในกระดาษทำการสรุป • ไม่ได้พิจารณายอดรวมของรายการที่ไม่ได้ปรับปรุงของบริษัทย่อย (Ref: TSA 450, Para 5,11) • ผู้สอบบัญชีพบข้อผิดพลาดจากการตรวจสอบ แต่ไม่ได้ประมาณข้อผิดพลาดทั้งหมดที่อาจมีอยู่ในประชากร (Ref: TSA 530, Para 12-14)
3. ประเด็นที่พบมากในการตรวจสอบคุณภาพในระดับงานสอบบัญชี • Substantive test and test of details • การตรวจสอบการจัดประเภทรายการและการเปิดเผยข้อมูลไม่เพียงพอ เช่น • การหักกลบรายการลูกหนี้กับเจ้าหนี้ • การแสดงหุ้นบุริมสิทธิรวมกับหุ้นสามัญ • การเปิดเผยคดีความภาระผูกพันไม่ครบถ้วน • การเปิดเผยข้อมูลจำแนกตามส่วนงานไม่เพียงพอ • การจัดประเภทค่าขนส่งเป็นค่าใช้จ่ายในการบริหาร (Ref : TSA 330, Para 24)