210 likes | 563 Views
การจัดเรียงหนังสือบนชั้น (Shelving). โดย....สดศรี กันทะอินทร์ งาน ห้องสมุดคณะแพทยศาสตร์. ทำไมต้องมีการจัดหมวดหมู่หนังสือ ?. เพื่อให้หนังสือทุกเล่มในห้องสมุดมีสัญลักษณ์และมีตำแหน่งการจัดวางที่แน่นอน เพื่อให้หนังสือที่มีเนื้อหาอย่างเดียวกัน รวมอยู่ในที่เดียวกัน
E N D
การจัดเรียงหนังสือบนชั้น(Shelving)การจัดเรียงหนังสือบนชั้น(Shelving) โดย....สดศรี กันทะอินทร์ งานห้องสมุดคณะแพทยศาสตร์
ทำไมต้องมีการจัดหมวดหมู่หนังสือ?ทำไมต้องมีการจัดหมวดหมู่หนังสือ? • เพื่อให้หนังสือทุกเล่มในห้องสมุดมีสัญลักษณ์และมีตำแหน่งการจัดวางที่แน่นอน • เพื่อให้หนังสือที่มีเนื้อหาอย่างเดียวกัน รวมอยู่ในที่เดียวกัน • เพื่อให้หนังสือที่มีเนื้อหาใกล้เคียงกันหรือสัมพันธ์กันอยู่ใกล้กัน • เพื่อให้ผู้ที่รับผิดชอบ จัดเก็บหนังสือคืนที่ได้ง่ายขึ้นและรวดเร็วขึ้น • เพื่อให้ทราบว่าห้องสมุดมีหนังสือในแต่ละสาขาวิชา แต่ละเรื่องมากน้อยเพียงใด
ระบบการจัดหมวดหมู่หนังสือระบบการจัดหมวดหมู่หนังสือ ห้องสมุดคณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่มี ระบบการจัดหมวดหมูหนังสือที่เลือกใช้มี 2 ระบบ คือ 1. ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน (LC-Library of Congresses Classification) 2. ระบบหอสมุดแพทย์แห่งชาติอเมริกัน (NLM-National Library of Medicine Classification)
PRECLINICAL SCIENCES QH National Histology ( LC. ) QL Zoology ( LC. ) QM Human Anatomy ( LC. ) QP Physiology ( LC. ) QU Biochemistry ( NLM. ) QV Pharmacology ( NLM. ) QW Bacteriology & Immunology ( NLM. ) QX Parasitology ( NLM. ) QY Clinical Pathology ( NLM. ) QZ Pathology ( NLM. )
MEDICINE AND RELATED SUBJECTS W Health Professions WA Public Health WB Practice of Medicine WC Communicable Diseases WD100 Nutrition Disorders WD200 Metabolic Disorders WD300 Immunologic and Collagen Diseases. Hypersentivity WD400 Animal Poisons WD500 Plant Poisons WD600 Disorders and Injuries of Environmental Origin
WD700 Aviation and space Medicine WD800 Naval Medicine WE Musculskeletal System WF Respiratory System WG Cardiovascular System WH Hemic and Lymphatic Systems WI Gastrointestinal System WJ Urologenital System WK Endocrine System WL Nervous System WM Psychiatry WN Radiology
WO Surgery WP Gynecology WQ Obstetrics WR Dermatology WS Pediatrics WT Geriatrics, Chronic Diseases WU Dentistry, Oral Surgery WV Otorhinolaryngology WW Opthamology WX Hospital WY Nursing WZ History of Medicine
เลขเรียกหนังสือ (Call Number) v.1 QM23 เลขหมู่หนังสือ S245 เลขผู้แต่ง 2002 ปีพิมพ์ เล่มที่
การเรียงหนังสือบนชั้นการเรียงหนังสือบนชั้น • เรียงหนังสือจากซ้ายไปขวา จากชั้นบนลงชั้นล่าง • จัดเรียงหนังสือบนชั้น แยกตามหมวดหมู่ เช่น Q – QZ, W - WZ
3. หนังสือที่มีหมวดหมู่เดียวกันให้เรียงเลขน้อยไปหามาก เช่น QM 4 QM 23 QM 45 QM 100
4. หนังสือที่มี หมวดหมู่เหมือนกัน เรียงลำดับตาม อักษรตัวแรกของชื่อผู้แต่งถ้าอักษรผู้แต่งเหมือนกันให้ เรียงตามเลขประจำตัวผู้แต่งจากเลขน้อยไปหาเลขมากถ้าเลขผู้แต่งซ้ำกันให้ เรียงลำดับตามอักษรตัวแรกของชื่อเรื่อง เช่น
QM 23 S665a QM 23 S665t
5. หนังสือที่มีหมวดหมู่เดียวกัน ผู้แต่งเดียวกันและชื่อเรื่องเดียวกันให้เรียงตามปีพิมพ์ใหม่ก่อนปีพิมพ์เก่า QM 23 S665a 2002 QM 23 S665a 1999
6. หนังสือที่มีหลายเล่มจบ จัดเรียงลำดับตามเล่ม QM23 S665a 2002 V.1 QM 23 S665a 2002 V.2
7. หนังสือที่มีหลายเล่มจบ และมีหลายปีพิมพ์ ให้เรียงลำดับตามเล่ม และปีพิมพ์ใหม่มาก่อน QM 23 S665a 2002 V.1 QM 23 S665a 1999 V.1 QM 23 S665a 2002 V.2 QM 23 S665a 1999 V.2
8. หนังสือที่มีหลายเล่มให้เรียงลำดับตามเล่ม QM 23 S665a 2002 C.2 QM 23 S665a 2002 C.1
หนังสือที่มีหมวดหมู่เป็นจุดทศนิยมตัวเลขหนังสือที่มีหมวดหมู่เป็นจุดทศนิยมตัวเลข หลังจุดทศนิยมให้เรียงตามลำดับตัวเลขไม่เรียงตามค่า QM4.20 S665a 2002 QM4.6 S665a 2002
QM 23 S245a2002 QM 23 ผ245ค2545 QM4 S245a 1999 QM 4 ก245ก 2542 10. หนังสือสำรอง (RESERVE BOOKS) หนังสือภาษาไทยและภาษาอังกฤษจะเรียงไว้ด้วยกัน โดยแต่ละหมวดหมู่จะเรียงหนังสือภาษาอังกฤษมาก่อนหนังสือภาษาไทย เช่น