80 likes | 207 Views
ความก้าวหน้าในความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของนักศึกษาบริหารธุรกิจ โรงเรียนลำปางเทคโนโลยี (แลมป์-เทค) ประจำปีการศึกษา 2 /25 52. วัตถุประสงค์. วิธีการวิจัย. ผลการศึกษา. เพื่อศึกษาความก้าวหน้าต่อ ความรับผิดชอบในการมาเรียน ของนักศึกษาบริหารธุรกิจ ปีการศึกษา 2/2552.
E N D
ความก้าวหน้าในความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของนักศึกษาบริหารธุรกิจโรงเรียนลำปางเทคโนโลยี (แลมป์-เทค)ประจำปีการศึกษา 2/2552 วัตถุประสงค์ วิธีการวิจัย ผลการศึกษา เพื่อศึกษาความก้าวหน้าต่อ ความรับผิดชอบในการมาเรียน ของนักศึกษาบริหารธุรกิจ ปีการศึกษา 2/2552 พบว่า โดยรวมนักศึกษามีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ในระดับดีขึ้นไป มีค่าเฉลี่ย 63.27 ส่วนนักศึกษาที่มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่อยู่ในระดับ น้อยมาก มีค่าเฉลี่ย 10.61 ฉะนั้นแสดงให้เห็นว่าระบบที่ใช้กับนักศึกษาเพื่อให้นักศึกษาแสดงความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ซึ่งใช้ได้กับนักศึกษาบางกลุ่ม ดังนั้นจะต้องปรับวิธีการแสดงความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของนักศึกษา ใช้ข้อมูลจากศูนย์ข้อมูลโรงเรียนแลมป์-เทค โดยศึกษาประชากรทั้งหมด 716 คน ใช้สถิติ ร้อยละ ผู้วิจัยนางสาวชามา เศวตบดี ปีการศึกษา 2552
ความก้าวหน้าในความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของนักศึกษาบริหารธุรกิจระดับ ปวช. โรงเรียนลำปางเทคโนโลยี (แลมป์-เทค) ประจำปีการศึกษา 2/2552 วัตถุประสงค์ วิธีการวิจัย ผลการศึกษา ใช้ข้อมูลจากศูนย์ข้อมูลโรงเรียนแลมป์-เทค โดยศึกษาประชากรทั้งหมด 716 คน ใช้สถิติ ร้อยละ เพื่อศึกษาความก้าวหน้าต่อ ความรับผิดชอบในการมาเรียน ของนักศึกษาบริหารธุรกิจ ปีการศึกษา 2/2552 พบว่า โดยรวมของนักศึกษา ระดับ ปวช. โรงเรียนลำปางเทคโนโลยี (แลมป์-เทค) มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ในระดับดีขึ้นไป มีค่าเฉลี่ย 64.50 ส่วนนักศึกษาที่มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่อยู่ในระดับ น้อยมาก มีค่าเฉลี่ย 13.50 ฉะนั้นแสดงให้เห็นว่าระบบที่ใช้กับนักศึกษาใช้ได้กับนักศึกษาบางกลุ่ม เท่านั้น ควรปรับวิธีเพื่อเสริมแรงกระตุ้นให้นักศึกษามีความรับผิดชอบต่อตนเอง ผู้วิจัยนางสาวชามา เศวตบดี ปีการศึกษา 2552
ความก้าวหน้าในความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของนักศึกษาบริหารธุรกิจระดับ ปวส. โรงเรียนลำปางเทคโนโลยี (แลมป์-เทค) ประจำปีการศึกษา 2/2552 วัตถุประสงค์ วิธีการวิจัย ผลการศึกษา ใช้ข้อมูลจากศูนย์ข้อมูลโรงเรียนแลมป์-เทค โดยศึกษาประชากรทั้งหมด 716 คน ใช้สถิติ ร้อยละ เพื่อศึกษาความก้าวหน้าต่อ ความรับผิดชอบในการมาเรียน ของนักศึกษาบริหารธุรกิจ ปีการศึกษา 2/2552 พบว่า โดยรวมของนักศึกษา ระดับ ปวส. โรงเรียนลำปางเทคโนโลยี (แลมป์-เทค) มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ในระดับดีขึ้นไป มีค่าเฉลี่ย 61.51 ส่วนนักศึกษาที่มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่อยู่ในระดับ น้อยมาก มีค่าเฉลี่ย 6.94 ฉะนั้นแสดงให้เห็นว่าระบบที่ใช้กับนักศึกษาใช้ได้กับนักศึกษาบางกลุ่ม เท่านั้น ควรปรับวิธีเพื่อเสริมแรงกระตุ้นให้นักศึกษามีความรับผิดชอบต่อตนเอง ผู้วิจัยนางสาวชามา เศวตบดี ปีการศึกษา 2552
ความก้าวหน้าในความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของนักศึกษาระดับ ปวช1. โรงเรียนลำปางเทคโนโลยี (แลมป์-เทค) ประจำปีการศึกษา 2/2552 วัตถุประสงค์ วิธีการวิจัย ผลการศึกษา ใช้ข้อมูลจากศูนย์ข้อมูลโรงเรียนแลมป์-เทค โดยศึกษาประชากรทั้งหมด 716 คน ใช้สถิติ ร้อยละ เพื่อศึกษาความก้าวหน้าต่อ ความรับผิดชอบในการมาเรียน ของนักศึกษาบริหารธุรกิจ ปีการศึกษา 2/2552 พบว่า โดยรวมของนักศึกษา ระดับ ปวช1. โรงเรียนลำปางเทคโนโลยี (แลมป์-เทค) มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ในระดับดีขึ้นไป มีค่าเฉลี่ย 52.68 ส่วนนักศึกษาที่ มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่อยู่ในระดับ น้อยมาก มีค่าเฉลี่ย 16.96 ฉะนั้นแสดงให้เห็นว่าระบบที่ใช้กับนักศึกษาใช้ได้กับนักศึกษาบางกลุ่ม เท่านั้น ควรปรับวิธีเพื่อเสริมแรงกระตุ้นให้นักศึกษามีความรับผิดชอบต่อตนเอง ผู้วิจัยนางสาวชามา เศวตบดี ปีการศึกษา 2552
ความก้าวหน้าในความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของนักศึกษาบริหารธุรกิจระดับ ปวช2. โรงเรียนลำปางเทคโนโลยี (แลมป์-เทค) ประจำปีการศึกษา 2/2552 วัตถุประสงค์ วิธีการวิจัย ผลการศึกษา ใช้ข้อมูลจากศูนย์ข้อมูลโรงเรียนแลมป์-เทค โดยศึกษาประชากรทั้งหมด 716 คน ใช้สถิติ ร้อยละ เพื่อศึกษาความก้าวหน้าต่อ ความรับผิดชอบในการมาเรียน ของนักศึกษาบริหารธุรกิจ ปีการศึกษา 2/2552 พบว่า โดยรวมของนักศึกษา ระดับ ปวช2. โรงเรียนลำปางเทคโนโลยี (แลมป์-เทค) มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ในระดับดีขึ้นไป มีค่าเฉลี่ย 39.45 ส่วนนักศึกษาที่ มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่อยู่ในระดับ น้อยมาก มีค่าเฉลี่ย 24.77 ฉะนั้นแสดงให้เห็นว่าระบบที่ใช้นั้นไม่สามารถเป็นแรงกระตุ้นใช้กับนักศึกษากลุ่ม ชั้น ปวช. 2ได้มากเท่าที่ควร ดังนั้นควรปรับวิธีเพื่อเสริมแรงกระตุ้นให้นักศึกษามีความรับผิดชอบต่อตนเอง ผู้วิจัยนางสาวชามา เศวตบดี ปีการศึกษา 2552
ความก้าวหน้าในความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของนักศึกษาบริหารธุรกิจระดับ ปวช3. โรงเรียนลำปางเทคโนโลยี (แลมป์-เทค) ประจำปีการศึกษา 2/2552 วัตถุประสงค์ วิธีการวิจัย ผลการศึกษา ใช้ข้อมูลจากศูนย์ข้อมูลโรงเรียนแลมป์-เทค โดยศึกษาประชากรทั้งหมด 716 คน ใช้สถิติ ร้อยละ เพื่อศึกษาความก้าวหน้าต่อ ความรับผิดชอบในการมาเรียน ของนักศึกษาบริหารธุรกิจ ปีการศึกษา 2/2552 พบว่า โดยรวมของนักศึกษา ระดับ ปวช3. โรงเรียนลำปางเทคโนโลยี (แลมป์-เทค) มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ในระดับดีขึ้นไป มีค่าเฉลี่ย 87.15 ส่วนนักศึกษาที่มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่อยู่ในระดับ น้อยมาก มีค่าเฉลี่ย 4.47 สะท้อนให้เห็นว่าระบบนั้นใช้ได้ดีกับนักศึกษาระดับ ปวช. ปีสุดท้าย สามารถประเมินได้ว่านักศึกษามีโอกาสที่จะศึกษาในชั้นปริญญาที่สูงกว่า ซึ่งระบบที่มีปัจจัยส่งผลถึงเกรดนั้นมีแรงกระตุ้นให้นักเรียนชั้น ปวช.3 มีความใส่ใจในมาตรการความรับผิดชอบที่ตั้งไว้ได้เป็นอย่างดี ผู้วิจัยนางสาวชามา เศวตบดี ปีการศึกษา 2552
ความก้าวหน้าในความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของนักศึกษาบริหารธุรกิจระดับ ปวส1. โรงเรียนลำปางเทคโนโลยี (แลมป์-เทคประจำปีการศึกษา 2/2552 วัตถุประสงค์ วิธีการวิจัย ผลการศึกษา ใช้ข้อมูลจากศูนย์ข้อมูลโรงเรียนแลมป์-เทค โดยศึกษาประชากรทั้งหมด 716 คน ใช้สถิติ ร้อยละ เพื่อศึกษาความก้าวหน้าต่อ ความรับผิดชอบในการมาเรียน ของนักศึกษาบริหารธุรกิจ ปีการศึกษา 2/2552 พบว่า โดยรวมของนักศึกษา ระดับ ปวส1. โรงเรียนลำปางเทคโนโลยี (แลมป์-เทค) มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ในระดับดีขึ้นไป มีค่าเฉลี่ย 66.47 ส่วนนักศึกษาที่ มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่อยู่ในระดับ น้อยมาก มีค่าเฉลี่ย 12.94 ฉะนั้นแสดงให้เห็นว่าระบบที่ใช้กับนักศึกษาใช้ได้กับนักศึกษาบางกลุ่ม เท่านั้น ควรปรับวิธีเพื่อเสริมแรงกระตุ้นให้นักศึกษามีความรับผิดชอบต่อตนเอง ผู้วิจัยนางสาวชามา เศวตบดี ปีการศึกษา 2552
ความก้าวหน้าในความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของนักศึกษาบริหารธุรกิจระดับ ปวส2. โรงเรียนลำปางเทคโนโลยี (แลมป์-เทค) ประจำปีการศึกษา 2/2552 วัตถุประสงค์ วิธีการวิจัย ผลการศึกษา ใช้ข้อมูลจากศูนย์ข้อมูลโรงเรียนแลมป์-เทค โดยศึกษาประชากรทั้งหมด 716 คน ใช้สถิติ ร้อยละ เพื่อศึกษาความก้าวหน้าต่อ ความรับผิดชอบในการมาเรียน ของนักศึกษาบริหารธุรกิจ ปีการศึกษา 2/2552 พบว่า โดยรวมของนักศึกษา ระดับ ปวส2. โรงเรียนลำปางเทคโนโลยี (แลมป์-เทค) มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ในระดับดีขึ้นไป มีค่าเฉลี่ย 60.96 ส่วนนักศึกษาที่ มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่อยู่ในระดับ น้อยมาก มีค่าเฉลี่ย 2.74 ฉะนั้นแสดงให้เห็นว่าระบบที่ใช้กับนักศึกษาใช้ได้กับนักศึกษาบางกลุ่ม เท่านั้น ควรปรับวิธีเพื่อเสริมแรงกระตุ้นให้นักศึกษามีความรับผิดชอบต่อตนเอง ผู้วิจัยนางสาวชามา เศวตบดี ปีการศึกษา 2552