3.97k likes | 4.32k Views
การวางแผนโครงการ. และบริหารโครงการสำหรับส่วนราชการ. เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำรายงานผลการประเมินยุทธศาสตร์ การแก้ไข ป้องกัน และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ระหว่างวันที่ 1-3 กรกฎาคม 2551 ณ โรงแรมปริ๊นสตั้น พาร์ค สวีท กรุงเทพฯ. นโยบาย ผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย สภาพการณ์ตามภารกิจ.
E N D
การวางแผนโครงการ และบริหารโครงการสำหรับส่วนราชการ เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำรายงานผลการประเมินยุทธศาสตร์ การแก้ไข ป้องกัน และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ระหว่างวันที่ 1-3 กรกฎาคม 2551 ณ โรงแรมปริ๊นสตั้น พาร์ค สวีท กรุงเทพฯ
นโยบาย ผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย สภาพการณ์ตามภารกิจ ศึกษา และ วิเคราะห์ ความต้องการ หรือจุดยืน ทางยุทธศาสตร์ รายงานผล 6. เชื่อมโยงความสมดุลทรัพยากรทางยุทธศาสตร์ ประเมินผล /ปรับปรุงและพัฒนา CSF (เป็นอะไร ?) วิสัยทัศน์ ทบทวน ภารกิจ และ โครงสร้าง องค์กร พัฒนาขีด ความ สามารถ แก่ บุคลากร จัดทำ งบประมาณ แบบมุ่งเน้น กลยุทธ์และ วัดความคุ้มค่าทางการเงิน (SPBB+PART) พัฒนา ระบบ ICT ยกระดับภาวะผู้นำแก่ทีมบริหาร ติดตามผล CSF พันกิจ (ทำอะไร ?) ดำเนินงานตามแผน CSF (ทำอย่างไร ?) ประเด็นยุทธศาสตร์ แผนงาน / โครงการ กิจกรรม กลยุทธ์ เป้าหมาย ตัวชี้วัด (ได้อะไร ?) เป้าประสงค์ ผังแสดงกระบวนการจัดทำระบบบริหารยุทธศาสตร์ โดยใช้เครื่องมือ Balanced Scorecard 1. วิเคราะห์ความต้องการทางยุทธศาสตร์ รู้เขา รู้เรา 2. ประเมินศักยภาพทางยุทธศาสตร์ ประเมินศักยภาพองค์กร ในการตอบสนองจุดยืน ทางยุทธศาสตร์ 5.ดำเนินการ 3.กำหนดทิศทาง ยุทธศาสตร์ 4. แปลงยุทธศาสตร์สู่การวัดผลและกำหนดกลยุทธ์ และโครงการ
ศาสตร์และวิธีการทางการบริหารที่ต้องรู้ศาสตร์และวิธีการทางการบริหารที่ต้องรู้ • System approach • Deming cycle • Result based management • Strategic principle • Risk Management • Performance based budgeting • Stakeholder management
การแปลงยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติการแปลงยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ พิจารณาปัจจัยต่างๆ ที่ต้องคำนึงถึงในการแปลงยุทธศาสตร์สู่การ ปฏิบัติ อาทิ บุคลากร ระบบ ข้อมูล วัฒนธรรม โครงการ การแปลงยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ ความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์และโครงการ การทำให้ยุทธศาสตร์สัมฤทธิผลผ่านทางโครงการต่างๆ การจัดทำข้อเสนอโครงการ เพื่อให้การคิดโครงการต่างๆ เป็นไปอย่างละเอียด ถี่ถ้วน รอบคอบ การคัดเลือกโครงการ (Proj. Screening) เพื่อคัดเลือกโครงการที่ส่งผลกระทบต่อยุทธศาสตร์โดยตรง การติดตามโครงการ (Proj. Monitoring) เพื่อติดตามความคืบหน้าในการดำเนินตามโครงการ เพื่อให้สามารถ ปรับตัวและแก้ไขปัญหาได้ทันต่อเหตุการณ์ การประเมินผลโครงการ (Proj. Evaluation) เพื่อประเมินว่าโครงการนำไปสู่ Output / Outcome ที่ต้องการและบรรลุผลตามยุทธศาสตร์หรือไม่
การบริหารโครงการคืออะไร?การบริหารโครงการคืออะไร? • Project management is the applicationof knowledge, skills, tools and techniques to project activities in order to meet or exceed stakeholder needs and expectations from a project. • Project management is accomplished through the use of processes such as initiating, planning, executing, controlling and closing….
ปัญหาที่มักพบเกี่ยวกับการบริหารโครงการปัญหาที่มักพบเกี่ยวกับการบริหารโครงการ • โครงการไม่เชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ โครงการและยุทธศาสตร์ยังเป็นชิ้นเป็นส่วน (ขนมชั้น) ขาดการบูรณาการซึ่งกันและกัน และระหว่างโครงการด้วยกัน • ไม่ได้คิดโครงการอย่างรอบคอบ ถี่ถ้วน ในทุกมุมมอง (คิดให้ทะลุ) • ขาดระบบการวิเคราะห์มิติด้านสังคม เศรษฐกิจ ความมั่นคง สิ่งแวดล้อม และด้านคุณภาพชีวิตที่เป็นระบบ • การดำเนินโครงการไม่ได้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ปัญหาที่มักพบเกี่ยวกับการบริหารโครงการปัญหาที่มักพบเกี่ยวกับการบริหารโครงการ • ขาดการวิเคราะห์ผลกระทบที่รอบด้าน • ขาดการมุ่งเน้นในการใช้งบประมาณให้เกิดความคุ้มค่าอย่างสูงสุด • การคำนึงถึงการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนมีน้อย • ขาดระบบการติดตาม และวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ที่เป็นระบบ • ขาดการบริหารการเปลี่ยนแปลง และความเสี่ยงที่จะกระทบต่อความสำเร็จ หรือความไม่สำเร็จของโครงการ • การสรุปบทเรียน เพื่อพัฒนาเป็นองค์ความรู้ไม่ชัดเจน
ขั้นตอนการวางแผนและการบริหารโครงการสำหรับส่วนราชการขั้นตอนการวางแผนและการบริหารโครงการสำหรับส่วนราชการ ขั้นตอนที่1 ทบทวน/ตรวจสอบผลการดำเนินงาน โครงการที่ผ่านมา(Review Phase) ขั้นตอนที่2 การริเริ่มโครงการใหม่และ วิเคราะห์เบื้องต้น(Conceptual Phase) ขั้นตอนที่3 วิเคราะห์และวางแผนรายละเอียด โครงการ(Project Planning Phase) ขั้นตอนที่4 วิเคราะห์และจัดทำคำขอ งบประมาณ(Budget Allocation Phase) ขั้นตอนที่5 การติดตามความก้าวหน้าของการดำ เนินโครงการ(Implementation Monitoring Phase) ขั้นตอนที่6ประเมินผลการใช้งานและการติดตาม /ปรับปรุง/แก้ไข (Utilization Phase)
ขั้นตอนที่ 1 ทบทวน/ตรวจสอบผล การดำเนินโครงการที่ผ่านมา
ลักษณะของโครงการซึ่งการทบทวน/ตรวจสอบลักษณะของโครงการซึ่งการทบทวน/ตรวจสอบ - โครงการที่อยู่ระหว่างการดำเนินการจะทำการทบทวน/ตรวจสอบเฉพาะความก้าวหน้าของการดำเนินงาน - โครงการซึ่งการดำเนินการเสร็จสิ้นแล้วจะทำการทบทวนและตรวจสอบผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบที่เกิดขึ้นจากโครงการ
ผลที่ได้จากการทบทวน/ตรวจสอบผลของการดำเนินโครงการผลที่ได้จากการทบทวน/ตรวจสอบผลของการดำเนินโครงการ - ดำเนินโครงการต่อ โดยอาจจะคงแผนเดิมไว้ ปรับปริมาณและ/หรือคุณภาพ - ยกเลิกโครงการ โดยระบุเหตุผลประกอบยกเลิกที่เหมาะสม - ชะลอโครงการเพื่อการศึกษาเพิ่มเติมและ/ปรับปรุงแผน - ขยายผลโครงการเพื่อจัดทำโครงการต่อเนื่อง
แบบฟอร์มที่เกี่ยวข้องกับการทบทวนตรวจสอบผลการดำเนินโครงการแบบฟอร์มที่เกี่ยวข้องกับการทบทวนตรวจสอบผลการดำเนินโครงการ การดำเนินงาน ขั้นตอน/แบบฟอร์ม กระบวนการ ►ตรวจสอบสถานภาพโครงการ ๏ พิจารณาแยกประเภทของโครงการ ๏ ตรวจสอบความคืบหน้าของการดำเนินโครงการ ตรวจสอบสถานภาพ โครงการที่ผ่านมา ขั้นตอนที่1.1 ฟอร์ม 1 - 1 ขั้นตอนที่1.2 ฟอร์ม 1 -1 ทบทวนและตรวจสอบผลผลิต /ผลลัพธ์/ผลกระทบที่เกิดขึ้นจาก โครงการ ►ในกรณีโครงการมีผลผลิตเกิดขึ้นตามระยะดำเนินการ ดังนี้ ๏ ทบทวนแบะทดสอบผลผลิตที่ได้รับ ๏ ทบทวนและตรวจสอบผลลัพธ์และผลกระทบที่ขึ้นจากการดำเนินโครงการ ► ทบทวนและตรวจสอบกลุ่มเป้าหมายของโครงการ ๏ สภาพปัญหา/ความต้องการ ๏ ผลกลุ่มเป้าหมายได้รับจากโครงการ ๏ทบทวนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของโครงการ ขั้นตอนที่ 1.3 ฟอร์ม 1-3 ทบทวนและตรวจสอบกลุ่มเป้าหมาย และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่ได้รับจาก โครงการ ขั้นตอนที่ 1.4 ทบทวนและตรวจสอบปัญหาและ อุปสรรคจากการดำเนินโครงการรวม ถึงแนวทางแก้ไขที่ผ่านมา ๏รวบรวมข้อมูลปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นตลอดการดำเนินโครงการ ๏ สรุปแนวทางแก้ไขและป้องกันจากการดำเนินโครงการ ประมวลผลเพื่อพิจารณาตัดสินใจ โดยใช้ข้อมูลดังต่อไปนี้ ๏สถานภาพของโครงการ ๏ ผลผลิต/ผลลัพธ์-ผลกระทบที่เกิดขึ้น ๏กลุ่มเป้าหมายและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ๏ ปัญหา อุปสรรคและแนวทางแก้ไข พิจารณา ตัดสินใจ ขั้นตอนที่ 1.5 ► พิจารณาตัดสินใจ ๏ดำเนินโครงการต่อ ๏ยกเลิกโครงการ ๏ชะลอเพื่อศึกษาเพิ่มเติมและปรับปรุงข้อมูล ๏ ขยายผลโครงการเพื่อจัดทำโครงการต่อเนื่อง ขั้นตอนที่ 1.5 ดำเนิน โครงการ ต่อ ยกเลิก โครงการ ชะลอ โครงการ ขยาย ผล โครงการ
ทบทวน/ตรวจสอบผลการดำเนินงานโครงการที่ผ่านมา (Review Phase) การดำเนินการขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1.1 ทบทวนตรวจสอบสภาพของโครงการ ขั้นตอนที่ 1.2 ทบทวน/ตรวจสอบผลผลิต/ผลลัพธ์/ผลกระทบที่เกิดขึ้น ขั้นตอนที่ 1.3 ทบทวน/ตรวจสอบกลุ่มเป้าหมายและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ขั้นตอนที่ 1.4 ทบทวนตรวจสอบปัญหา อุปสรรคและแนวทางแก้ไข ขั้นตอนที่ 1.5 พิจารณาตัดสินใจ
ขั้นตอนที่ 1 .1 ทบทวน/ตรวจสอบ/ตวจสอบสภาพของโครงการ
ตรวจสอบสภาพของโครงการตรวจสอบสภาพของโครงการ ทบทวน นิยาม สถานภาพของโครงการ คือ สภาพความคืบหน้าและผลการดำเนินงานโครงการตามแผนปฏิบัติการแผนงบประมาณ โดยวิเคราะห์ผลการดำเนินจริง (Actual) เปรียบเทียบกับแผนงานที่กำหนด (Planned) ทั้งในเชิงปริมาณคุณภาพ เวลา และงบประมาณ หลักการ
แนวทางการทบทวน/ตรวจสอบสภาพของโครงการลักษณะต่างๆแนวทางการทบทวน/ตรวจสอบสภาพของโครงการลักษณะต่างๆ
การตรวจสถานภาพของโครงการการตรวจสถานภาพของโครงการ • ตรวจสอบความเบี่ยงเบนของคุณภาพงาน (Performance Variance) • ตรวจสอบความเบี่ยงเบนของระยะเวลาการดำเนินงาน (Schedule Variance) • ตรวจสอบความเบี่ยงเบนของงบประมาณการดำเนินการ (Budget Variance)
ตัวอย่าง การทบทวน/ตรวจสอบสถานภาพของโครงการลักษณะต่างๆ
ขั้นตอนที่ 1.2 ทบทวน /ตรวจสอบผลผลิต/ผลลัพธ์/ ผลกระทบที่เกิดขึ้น
นิยาม ผลผลิต (Output) คือ สิ่งที่ได้จากการดำเนินโครงการซึ่งอาจเป็นได้ทั้งโครงการซึ่งอาจเป็นทั่งโครงการทางกายภาพ การบริหารจัดการ หรือการให้บริการก็ได้
ประเภทของผลผลิต • ที่เป็นโครงสร้างทางกายภาพ (Products) อาทิ อาคาร เขื่อน สะพาน เป็นต้น • ที่เป็นลักษณะการให้บริการ (Service) อาทิการออกใบอนุญาต/การจดทะเบียน การฝึกอบรม • ที่เป็นการเกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการ (Management) อาทิ การกำกับดูแล การเสนอแนะทางด้านนโยบาย และฐานข้อมูล
ประเภทของผลลัพธ์ • ทางด้านทางเศรษฐกิจ = ผลที่ได้รับจากการใช้ประโยชน์ผลผลิตโครงการ และก่อให้เกิดการสร้าง/ลดมูลค่าทางเศรษฐกิจและการเงินโดยตรง • ทางด้านทางสังคม = ผลที่ได้รับจากการใช้ประโยชน์ผลผลิตโครงการ และส่งผลต่อสังคมทั้งในด้านการพัฒนาสังคมและการให้สังคมเสื่อมลง • ทางด้านความมั่งคง = ผลที่ได้รับจากการใช้ประโยชน์ของชาติทั้งในด้านความมั่งคงภายในและระหว่างประเทศ
ประเภทของผลลัพธ์(ต่อ) • ทางด้านสิ่งแวดล้อม = ผลที่ได้รับจากการใช้ประโยชน์ผลผลิตโครงการและส่งผลต่อสิ่งแวดล้อมทาง • ด้านคุณภาพชีวิต = ผลที่ได้รับจากการใช้ประโยชน์ผลผลิตโครงการและส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนที่ดีขึ้นและตกต่ำลง
ประเภทของผลกระทบ • ทางด้านทางเศรษฐกิจ = ผลที่ได้รับจากการใช้ประโยชน์ผลผลิตโครงการ และก่อให้เกิดการสร้าง/ลดมูลค่าทางเศรษฐกิจและการเงินโดยตรง • ทางด้านทางสังคม = ผลที่ได้รับจากการใช้ประโยชน์ผลผลิตโครงการ และส่งผลต่อสังคมทั้งในด้านการพัฒนาสังคมและการให้สังคมเสื่อมลง • ทางด้านความมั่งคง = ผลที่ได้รับจากการใช้ประโยชน์ของชาติทั้งในด้านความมั่งคงภายในและระหว่างประเทศ
ประเภทของผลกระทบ (ต่อ) • ทางด้านสิ่งแวดล้อม = ผลที่ได้รับจากการใช้ประโยชน์ผลผลิตโครงการและส่งผลต่อสิ่งแวดล้อม • ทางด้านคุณภาพชีวิต = ผลที่ได้รับจากการใช้ประโยชน์ผลผลิตโครงการและส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนที่ดีขึ้นและตกต่ำลง
การทบทวน/ตรวจสอบผลผลิต/ผลลัพธ์/ผลกระทบที่เกิดขึ้น จะทำให้ทราบถึง • การทบทวนตรวจสอบผลที่ได้รับ • การทบทวน/ตรวจสอบผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น • การทบทวน/ตรวจผลกระทบที่เกิดขึ้น
ตารางการทบทวน/ตรวจสอบผลที่ได้รับตารางการทบทวน/ตรวจสอบผลที่ได้รับ ผลผลิต ตัวชี้วัด (Indicators) เปรียบเทียบเป้าหมาย ผลที่ได้รับ ( Target/Actual) เป้าหมาย (Target) ผลที่ได้รับ (Actual) ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ .... .... .... .... .... .... ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ ตัวชี้วัดเชิงเวลา .... .... .... .... .... .... ตัวชี้วัดเชิงต้นทุน
ตัวอย่างผลลัพธ์เชิงบวกและเชิงลบตัวอย่างผลลัพธ์เชิงบวกและเชิงลบ
ตัวอย่างผลลัพธ์และผลกระทบประเภทต่างๆตัวอย่างผลลัพธ์และผลกระทบประเภทต่างๆ
ขั้นตอนที่ 1.3 ทบทวนตรวจสอบกลุ่มเป้าหมาย และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
นิยาม กลุ่มเป้าหมายโครงการ(Target Group) คือ กลุ่มผู้ใช้ประโยชน์จากผลผลิตของโครงการโดยตรงทั้งที่เป็นผลผลิตทางด้านกายภาพ การบริหารจัดการ และการบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย(Stakeholders) คือ บุคคล กลุ่มบุคคล และ/หรือองค์การใดๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกับโครงการไม่ว่าทางใดทางหนึ่ง
การทบทวน/ตรวจสอบกลุ่มเป้าหมายและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียการทบทวน/ตรวจสอบกลุ่มเป้าหมายและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หลักการ 1. ทบทวนกลุ่มเป้าหมายของโครงการ 2. การทบทวนของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียโครงการ
1. ทบทวนกลุ่มเป้าหมายของโครงการ • ใคร คือกลุ่มเป้าหมาย ? • กลุ่มเป้ามายมีลักษณะอย่างไร ? • กลุ่มเป้าหมายมีปริมาณเท่าไร ? • กลุ่มเป้าหมายมีสภาพความต้องการ ? • กลุ่มเป้าหมายมีความต้องการ/ความคาดหวังปัจจุบันอย่างไร ?
2. การทบทวนของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียโครงการ • กลุ่มใดเป็นกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียภายในและกลุ่มใดเป็นผู้มีส่วนได้เสียภายนอก ? • แต่ละกลุ่มมีความต้องการ/ผลประโยชน์กับโครงการอย่างไร ในส่วนใด และปฏิสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มเป็นอย่างไร ? • แต่ละกลุ่มมีความคาดหวังอย่างไรกับโครงการ ? • แต่ละกลุ่มจะได้ผลกระทบอย่างไรบ้างจากการดำเนินโครงการ
2. การทบทวนของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียโครงการ(ต่อ) • แต่ละกลุ่มมีสิทธิตามกฎหมายในการมีส่วนร่วมในโครงการ ? • แต่ละกลุ่มสามารแทรกแซงการดำเนินโครงการได้อย่างไร หรือไม่อย่างไร • กลุ่มใดที่เห็นด้วย/สนับสนุนโครงการ กลุ่มที่ไม่เห็นด้วยต่อต้าน และกลุ่มใดที่เป็นกลาง
ตัวอย่าง • โครงการบ้าน/โรงเรียนชายแดนร่วมใจขจัดภัยความยากจน ของตำรวจตระเวนชายแดน • ● กำหนดกลุ่มเป้าหมาย คือ หมู่บ้านตามแนวชายแดนที่ตำรวจตะเวนชายแดนรับผิดชอบโดยระบุกลุ่มเป้าหมายจำนวน 191 หมู่บ้าน • ● กำหนดผู้มีส่วนได้เสีย คือ ประชาชนที่อาศัยอยู่ในบริเวณพื้นที่โครงการ ส่วนราชการในพื้นที่ ที่เกี่ยวข้อง
ตัวอย่าง(ต่อ) • โครงการเสริมสร้างประสิทธิภาพ การกับกับดูแลสินค้าและบริการ ของกรมการค้าภายใน • ● กำหนดกลุ่มเป้าหมาย คือ ผู้บริโภคสินค้าและบริการทั้งในส่วนภาคกลางและทั่วประเทศครอบคลุมพื้นที่ 876 อำเภอ 76 จังหวัด • ● กำหนดกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย คือ ภาคเอกชน/ธุรกิจ/ผู้ประกอบการ เป็นต้น
ตัวอย่าง(ต่อ) • โครงการพัฒนาศักยภาพของหมู่บ้าน/ชุมชน (SML) ของสำนักนายกรัฐมนตรี • ● กำหนดกลุ่มเป้าหมาย คือ ประชาชนในหมู่บ้าน/ชุมชนทุกแห่งทั่วประเทศ • ● กำหนดกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย คือ ส่วนในราชการในพื้นที่
ขั้นตอนที่ 1.4 ทบทวนตรวจสอบ/ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข
นิยาม ปัญหาและอุปสรรค คือ ปัจจัยต่างๆที่ส่งผลให้การดำเนินโครงการไม่บรรลุผลสำเร็จครบตามที่ได้วางแผนไว้ โดยปัจจัยดังกล่าวสามารถเกิดขึ้นได้ตลอดระยะเวลาการดำเนินงานโครงการ ตั่งแต่ขั้นตอนการริเริ่มโครงการ (Planning Phase) การดำเนินโครงการ (Implementation Phase ) การใช้ประโยชน์จากโครงการ (Utilization Phase) แนวทางแก้ไข คือ สิ่งที่ผู้รับผิดชอบโครงการ และ/หน่วยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ดำเนินการเพื่อแก้ไขปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ที่เกิดขึ้นในตลอดระยะเวลาดำเนินงานโครงการ
ปัญหาและอุปสรรคของโครงการปัญหาและอุปสรรคของโครงการ • ด้านบุคลากร (Man) เช่น ขาดบุคลากรที่มีขีดความสามารถ • ด้านการบริหารจัดการ (Management) เช่น ความผิดพลาดต่างๆในการบริหารจัดการ • ด้านวัตถุดิบ/เครื่องมือ/อุปกรณ์ (Material/Machine) เช่น ขาดแคลนวัตถุดิบ • ด้านงบประมาณ (Money) ค่าใช้จ่ายสูงกว่าค่าใช้จ่ายที่ประมาณการไว้ • ด้านเทคโนโลยี (Technology) เช่น ความยุ่งยากสลับซับซ้อนของเทคโนโลยี • ด้านสภาวะแวดล้อม (Environment) เช่น การต่อต้านของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของโครงการ
หลักการ สภาพปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้น • ทบทวนปัญหาและอุปสรรค • ทบทวนแนวทางแก้ไข
ตัวอย่างปัญหา/อุปสรรคที่เกิดขึ้นในแต่ละขั้นตอนของการบริหารโครงการในมิติต่างๆตัวอย่างปัญหา/อุปสรรคที่เกิดขึ้นในแต่ละขั้นตอนของการบริหารโครงการในมิติต่างๆ
ขั้นตอน 1.5 พิจารณาตัดสินใจ
นิยาม การพิจารณาตัดสินใจภายหลังจาการทบทวนโครงการ คือ การที่เจ้าของโครงการพิจารณาตัดสินใจว่าจะดำเนินโครงการขยายผลโครงการ ยกเลิกโครงการ หรือชะลอโครงการเพื่อติดตามและเฝ้าดู โดยพิจารณาจากผลการทบทวนในเรื่องต่างๆในขั้นตอนที่ผ่านมา
หลักการ • รวบรวมและวิเคราะห์ทบทวน • สถานภาพของโครงการ • ผลผลิตผลลัพธ์ / ผลกระทบที่เกิดขึ้น • กลุ่มเป้าหมายผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข
หลักการ(ต่อ) • ควรพิจารณา ดำเนินโครงการ • โครงการสามารถดำเนินการได้ตามแผนดำเนินงานที่กำหนด • โครงการให้ผลผลิต และผลลัพธ์ตามเป้าหมายที่กำหนด • โครงการสามารถก่อให้เกิดประโยชน์ต่อกลุ่มเป้าหมายที่กำหนด • โครงการสอดคล้องกับนโยบาย แผนการบริหารราชการแผ่นดิน และแผนปฏิบัติการของหน่วยงาน
การพิจารณา ยกเลิกโครงการ • โครงการเบี่ยงเบนไปจากแผนการดำเนินงาน และไม่สามารถปรับปรุงแผนได้ • โอกาสในการบรรลุเป้าหมายผลผลิตและผลลัพธ์ที่กำหนดเป็นไปได้ยาก • กลุ่มเป้าหมายไม่สามารถใช้ประโยชน์ผลผลิตโครงการตามที่ตั้งเป้าหมายไว้ • การดำเนินงานโครงการก่อให้เกิดผลกระทบเชิงลบต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • นโยบายแผ่นการรบริหารราชการแผ่นดิน และแผนปฏิบัติราชการของหน่วยงานเปลี่ยนแปลง