1 / 29

ความดัน

ความดัน. ( Pressure). ความดันที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน. * ความดันบรรยากาศตามสถานที่ต่างๆในเวลาต่างๆ * ความดันในยางรถ * ความดันก๊าซในถังหุงต้ม ฯลฯ. กิจกรรม นำขวดน้ำพลาสติกมาเจาะรู หลายๆรู ณ ตำแหน่งต่างๆกันรอบขวด. ให้นักเรียนสังเกตการพุ่งของน้ำจากรู

yehudah
Download Presentation

ความดัน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความดัน (Pressure)

  2. ความดันที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันความดันที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน *ความดันบรรยากาศตามสถานที่ต่างๆในเวลาต่างๆ *ความดันในยางรถ *ความดันก๊าซในถังหุงต้ม ฯลฯ

  3. กิจกรรม นำขวดน้ำพลาสติกมาเจาะรู หลายๆรู ณ ตำแหน่งต่างๆกันรอบขวด ให้นักเรียนสังเกตการพุ่งของน้ำจากรู เหตุใดน้ำจึงพุ่งออกจากรูที่เจาะไว้?

  4. เหตุใดน้ำจึงพุ่งออกจากรูที่เจาะไว้?เหตุใดน้ำจึงพุ่งออกจากรูที่เจาะไว้? • การที่น้ำพุ่งออกจากรู แสดงว่า มีแรงกระทำ ต่อน้ำ แรงนี้ดันให้น้ำออกมาในทิศตั้งฉากกับผนัง ภาชนะที่ตำแหน่งเจาะรู ไม่ว่าผนังจะอยู่ในแนวใด ถ้าปิดรู แรงกระทำนี้ก็ยังมีอยู่ และจะกระทำต่อ ผนังภาชนะทุกส่วนที่สัมผัสของเหลว และแรงนี้มี ทิศทางตั้งฉากกับผนังส่วนนั้นๆ

  5. ความดัน (pressure) • คือ ขนาดของแรงที่กระทำตั้งฉากต่อพื้นที่หนึ่งหน่วย ให้ F = แรงที่ของเหลวกระทำตั้งฉากกับพื้นที่ A P = ความดันที่เกิดจากของเหลวกระทำบนพื้นที่ A

  6. จะได้สมการแสดงความสัมพันธ์ ดังนี้ P = F / A หรือ F = PA ความดัน เป็นปริมาณสเกลาร์ มีหน่วยเป็น นิวตันต่อตารางเมตร (N/m2) หรือ พาสคัล ( Pa)

  7. ความดันในของเหลว * คนดำน้ำ จะรู้สึกปวดแก้วหู ยิ่งดำน้ำลึก มากขึ้น จะยิ่งปวดแก้วหู แสดงว่า ความดันในของเหลวมีค่าเพิ่มขึ้นตาม ความลึก

  8. ในของเหลวที่อยู่นิ่ง ณ จุดใดๆที่อยู่ในระดับความลึกเดียวกัน จะมีความดันเท่ากันเสมอ

  9. ความดันในของเหลว ไม่ขึ้นอยู่กับ ปริมาตร และรูปร่างของภาชนะที่บรรจุของเหลว

  10. ความดันที่ก้นภาชนะทั้งสามใบเท่ากันหรือไม่(ถ้าพื้นที่ก้นเท่ากัน)

  11. ความดันเกจ เป็นความดันเนื่องจากน้ำหนักของของเหลว ที่กดลงบนพื้นที่ ที่รองรับในแนวตั้งฉาก

  12. ความดันเกจในของเหลว(ความดันเนื่องจากน้ำหนักของของเหลว)ความดันเกจในของเหลว(ความดันเนื่องจากน้ำหนักของของเหลว) กำหนดให้Pg = ความดันเกจ  = ความหนาแน่นของเหลว h = ระดับความลึก g = ความเร่งโน้มถ่วงโลก

  13. จะได้ว่า ความดันเกจ =ขนาดของแรงดัน= น้ำหนักของเหลว พื้นที่ในแนวตั้งฉาก พื้นที่ในแนวตั้งฉาก Pg =F = mg = (v)g = (Ah)g = gh A A A A Pg =gh

  14. *** ในของเหลวที่อยู่นิ่ง หรืออุณหภูมิคงที่ ความดันในของเหลว แปรผันตรงกับ ความลึก และความหนาแน่นของเหลว

  15. ความดันเกจที่ด้านข้างภาชนะ(ความดันเฉลี่ย)ความดันเกจที่ด้านข้างภาชนะ(ความดันเฉลี่ย) ความดันเกจที่ด้านบน (ความดันที่ผิวบนของของเหลว) = 0 ความดันเกจที่ก้นภาชนะ (ความดันที่ระดับความลึก h) = gh ความดันเฉลี่ย = ½ gh

  16. ความดันสัมบูรณ์ เป็นความดันเนื่องจาก น้ำหนักของเหลวและอากาศ กดลงบนพื้นที่รองรับในแนวตั้งฉาก

  17. กำหนดให้ P = ความดันสัมบูรณ์ gh= ความดันเกจ PO = ความดันบรรยากาศ

  18. จะได้ว่า ความดันสัมบูรณ์ = ความดันเกจ + ความดันบรรยากาศ P =PO+ gh

  19. *** ความดันในของเหลวที่มีความหนาแน่น ที่ระดับลึก h จากผิวของเหลวที่บรรจุในภาชนะ เปิดสู่บรรยากาศ เท่ากับ ผลรวมของความดัน บรรยากาศ POกับปริมาณgh

  20. EX1 • ของเหลวชนิดหนึ่งมีความหนาแน่น 2 x 103 kg/m3 จงหาความดันของเหลวที่ระดับความลึก 10 m ( g = 10 m/s2)

  21. EX2 • ของเหลวชนิดหนึ่ง ที่ระดับความลึก 10 m มีความดันเกจเท่ากับ 105 N/m2จงหาความดันสัมบูรณ์ของของเหลวที่ระดับความลึก 20 m ( กำหนด g = 10 m/s2 และ ความดันบรรยากาศ = 105 N/m2)

  22. EX3 • เรือดำน้ำลำหนึ่งอยู่ที่ระดับลึก 100m จงหาความดันเกจและความดันสัมบูรณ์ที่ ตัวเรือดำน้ำ ถ้าน้ำทะเลมีความหนาแน่น 1.024 x 103 kg/m3และความดันบรรยากาศ ที่ระดับน้ำทะเลเป็น 1.013 x 103 Pa(ใช้g =9.8 )

  23. แรงดันของของเหลว แรงดัน = ความดัน x พื้นที่ F = P A

  24. แรงดันที่ก้นภาชนะเนื่องจากความดันเกจแรงดันที่ก้นภาชนะเนื่องจากความดันเกจ F = (gh) A แรงดันที่ก้นภาชนะเนื่องจากความดันสัมบูรณ์ F = (gh + PO) A

  25. แรงดันเฉลี่ยที่ด้านข้างตรงเนื่องจากความดันเกจแรงดันเฉลี่ยที่ด้านข้างตรงเนื่องจากความดันเกจ แรงดันเฉลี่ย = ความดันเฉลี่ย x พื้นที่F = (Pgเฉลี่ย ) A F = ½gL h2

  26. แรงดันเฉลี่ยที่ด้านข้างตรงเนื่องจากความดันสัมบูรณ์แรงดันเฉลี่ยที่ด้านข้างตรงเนื่องจากความดันสัมบูรณ์ แรงดันเฉลี่ย = ความดันเฉลี่ย x พื้นที่ F = (P เฉลี่ย ) A F = (½gh + PO) A F = (½gh + PO) A ; A = L h

  27. แรงดันเฉลี่ยที่น้ำกระทำต่อเขื่อน/ประตูกั้นน้ำแรงดันเฉลี่ยที่น้ำกระทำต่อเขื่อน/ประตูกั้นน้ำ ประตูน้ำกั้นตรง F = ½gL h2 ประตูน้ำกั้นเอียง F = ½gL h2xcosec 

  28. แรงที่น้ำกระทำต่อประตูกั้นน้ำแรงที่น้ำกระทำต่อประตูกั้นน้ำ EX 1 • ประตูกั้นน้ำแห่งหนึ่งกว้าง L สูง H เมื่อระดับน้ำสูงสุด แรงที่น้ำกระทำต่อประตูกั้นน้ำ เป็นเท่าใด

  29. EX 2 คลองส่งน้ำ

More Related